Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78135
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุษยรัตน์ ธรรมพัฒนกิจ-
dc.contributor.authorอาทิตย์ แก้วอำไพ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-03-02T08:48:32Z-
dc.date.available2022-03-02T08:48:32Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78135-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการตรวจวัดโลหะไอออนด้วยอุปกรณ์กระดาษ 3 มิติ ร่วมกับเทคนิคเปลี่ยนแปลงสี โดยใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์เพียงมือถือในกล่องควบคุมแสงแล้วถ่ายภาพดูค่า R G B ด้วยโปรแกรม image J ซึ่งเป็นการเฉลี่ยสีบนอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และตัวอุปกรณ์กระดาษแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนหนึ่งเป็นส่วนเคลือบไขที่เป็นส่วนไฮโดรโฟบิกและ อีกส่วนเป็น กระดาษธรรมดาซึ่งเป็นส่วนไฮโดรฟิลิก การไหลของสารละลายจะไหลไปตามทางที่ออกแบบโดยอาศัยปัจจัยต่างๆดังนี้ การแพร่ แรงโน้มถ่วง และ แรงคาปิลลารี ในงานวิจัยนี้ได้ทดสอบหาความเลือกจำเพาะของสารสีย้อมกับไอออนโลหะบนกระดาษหลากหลายชนิดได้แก่ Rhodamine B derivative 1 (Rho_B 1), Rhodamine B derivative 2 (Rho_B 2), Dimethylglyoxime (DMG), Carminic acid (CA) and Eriochrome black T (EBT) โดยได้เลือกสารสีย้อม CA และ EBT เพราะสีย้อมทั้ง 2 สามารถเปลี่ยนแปลงสีของไอออนโลหะได้แตกต่างกัน ในการตรวจสอบไอออนของโลหะโดยเทคนิคการเปลี่ยนแปลงสีพบว่าจะให้ค่า R G B ที่แตกต่างกันกับไอออนโลหะแต่ละชนิด จึงได้นำค่าที่ได้มาประยุกต์กับหลักการวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญของ PCA ในการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ พบว่าสารสีย้อม CA และ EBT ให้ประสิทธิภาพสูงในการแยกโลหะ Al³⁺ Zn²⁺ Ni²⁺ Fe³⁺ Mn²⁺ และ Pb²⁺ได้en_US
dc.description.abstractalternativeIn this study, metal cation detection by using 3 dimension paper-based devices with colorimetric technique was investigated. This method utilized only a mobile phone device in light control box. Metal cations were analyzed by using image J program providing the R G B values of the picture. Paper based device consists of two parts. One is hydrophobic part which is coated by wax and another is clean paper. Direction of flow solution is based on diffusion, gravity force and capillary force. Among the Rhodamine B derivative 1 (Rho_B 1), Rhodamine B derivative 2 (Rho_B 2), Dimethylglyoxime (DMG), Carminic acid (CA) and Eriochrome black T (EBT) dyes, CA and EBT were selected as dyes for detection of metal cations in this experiment due to its ability to change the color in various metal cation. The color changes of CA and EBT dyes with various metal cations giving different R G B values can be applied to discriminate among metal cations by using principle component analysis (PCA). The results indicated that CA and EBT offer effective discrimination of Al³⁺, Zn²⁺, Ni²⁺, Fe³⁺, Mn²⁺ and Pb²⁺.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectไอออนโลหะen_US
dc.subjectโลหะทรานซิชันen_US
dc.subjectMetal ionsen_US
dc.subjectTransition metalsen_US
dc.titleอุปกรณ์กระดาษตรวจวัดโลหะทรานซิชั่นด้วยเทคนิคการเปลี่ยนแปลงสีen_US
dc.title.alternativePaper-Based Device for Colorimetric Detection of Metalsen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Atid_Ka_Se_2558.pdf1.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.