Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78244
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิชาติ อิ่มยิ้ม-
dc.contributor.authorเฉลิมพร มหาดิลกรัตน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-03-15T02:28:00Z-
dc.date.available2022-03-15T02:28:00Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78244-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560en_US
dc.description.abstractข้าวไรซ์เบอร์รี่เกิดขึ้นจากการผสมข้ามพันธุ์ระหว่างข้าวเจ้าหอมนิลและข้าวขาวดอกมะลิ 105 (ข้าวหอมมะลิ) มีแอนโทไซยานินเป็นองค์ประกอบในเมล็ดข้าว จึงมีแนวโน้มที่จะนำมาสกัดแอนโทไซยานิน และใช้เป็นสารให้สีในการสร้างฟิล์มตรวจวัดพีเอช เนื่องจากแอนโทไซยานินสามารถเปลี่ยนสีเมื่อพีเอชเปลี่ยน ในงานวิจัยนี้ใช้แป้งข้าวไรซ์เบอร์รี่และแป้งข้าวโพดเพื่อผลิตฟิล์มโดยใช้เทคนิคการเกลี่ยสารละลายให้เป็นฟิล์มบาง (casting) นำฟิล์มสำหรับตรวจวัดพีเอชมาทดสอบการเปลี่ยนสีที่เกิดขึ้นที่ช่วงพีเอชระหว่าง 1.0-10.0 ซึ่งสังเกตเห็นว่าฟิล์มมีการเปลี่ยนสีจากสีแดงเป็นสีน้ำตาล ในการวิเคราะห์ด้วยเทคนิคยูวีวิสิเบิลสเปกโทรสโกปีเพื่อวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงสีของสารแอนโทไซยานินที่ช่วง pH 1.0-10.0 และหาปริมาณแอนโทไซยานินที่ได้จากการสกัดข้าวไรซ์เบอร์รี่ด้วยวิธีพีเอชดิฟเฟอเรนเชียล (pH differential method) ซึ่งพบว่ามีปริมาณแอนโทไซยานินอยู่ประมาณ 10.5±0.1 มิลลิกรัมต่อกรัม ในการศึกษาการรวมกันได้ของฟิล์มโดยทำการวิเคราะห์ด้วยเทคนิคอินฟราเรดสเปกโทรสโกปี พบว่าฟิล์มที่เตรียมขึ้นมาจากแป้งข้าวไรซ์เบอร์รี่และแป้งข้าวโพดสามารถรวมกันได้ และในการศึกษาสมบัติพื้นผิวของฟิล์มทำการวิเคราะห์ด้วยมุมสัมผัสที่เกิดขึ้นระหว่างฟิล์มและหยดน้ำซึ่งพบว่าฟิล์มมีพื้นผิวที่มีคุณสมบัติชอบน้ำ ดังนั้นฟิล์มจากแป้งข้าวไรซ์เบอร์รี่ที่เพิ่มแป้งข้าวโพดลงไปมีแนวโน้มที่จะใช้เป็นฟิล์มในการตรวจวัดพีเอชได้en_US
dc.description.abstractalternativeRiceberry (Oryza sativa L.) is originated from a cross-breed between Jao Hom Nin and Khoa Dawk Mali 105 (Jasmine rice) which composed of anthocyanin in grain. For this reason, riceberry could possibly be used as a pH sensor because of the ability of anthocyanin that can change its color at a wide pH range. In this work, riceberry rice flour and corn flour were used to fabricate films by casting. Anthocyanin solution that was extracted from riceberry rice flour and pH sensing film were tested in the pH range of 1.0-10.0 and it exhibited the color changed from red to brown by visual observation. The UV-vis spectra of anthocyanin extracted from riceberry solution was studied, showing the color change at pH 1.0-10.0. Total anthocyanin content determined by pH differential method was 10.5 ± 0.1 mg/g. Fourier transform infrared (FT-IR) spectra showed the great compatibility between riceberry flour and corn flour. The surface of film was hydrophilic, suggesting by contact angle. Therefore, films produced from riceberry flour and corn flour could be used as pH sensing film.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectข้าวไรซ์เบอร์รี่en_US
dc.subjectแอนโทไซยานินส์en_US
dc.subjectฟิล์มบางen_US
dc.subjectRiceberryen_US
dc.subjectAnthocyaninsen_US
dc.subjectThin filmsen_US
dc.titleฟิล์มจากข้าวไรซ์เบอร์รี่สำหรับการตรวจวัดพีเอชen_US
dc.title.alternativeRiceberry flour-based film for pH sensingen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chaloemoporn Ma_SE_2560.pdf1.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.