Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78253
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมศักดิ์ เพียรวณิช-
dc.contributor.authorชุติมณฑน์ ชีวาเกียรติยิ่งยง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-03-15T03:49:51Z-
dc.date.available2022-03-15T03:49:51Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78253-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560en_US
dc.description.abstractโรคความดันโลหิตสูงเป็นปัจจัยเสี่ยงอันดับสองที่ก่อให้เกิดการเสียชีวิตและความพิการทั่วโลก วิธีการ หนึ่งในการรักษาโรคความดันโลหิตสูง คือ การยับยั้งการทางานของแองจิโอเทนซิน-คอนเวอร์ติงเอนไซม์ ใน ปัจจุบันมียารักษาโรคความดันโลหิตสูงที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการทางานของ แองจิโอเทนซิน-คอนเวอร์ติงเอนไซม์ อยู่ หลายตัวซึ่งแต่ละตัวก็จะมีประสิทธิภาพในการใช้งานไม่เท่ากัน งานวิจัยนี้จึงศึกษาเปรียบเทียบข้อมูลโครงสร้าง เกี่ยวกับรูปแบบการเข้าจับและอันตรกิริยาระหว่างยาที่เป็นสารยับยั้งเหล่านี้จำนวน 24 ตัว กับ แองจิโอเทนซิน- คอนเวอร์ติงเอนไซม์ โดยใช้เทคนิคการคำนวณการเข้าจับเชิงโมเลกุล ผลการคำนวณพบว่า ลักษณะการเข้าจับ ของตัวยับยั้งทุกตัวในตัวรับชนิดเดียวกันจะมีความใกล้เคียงกัน แต่ต่างกันที่ตำแหน่งการเกิดพันธะกับกรดอะมิโน บางกลุ่ม อันได้แก่ ALA1, SEP284 และ GLU 411 และในตัวรับที่มีประสิทธิภาพสูงในการทำงานสูงจะเกิดพันธะ ไฮโดรเจนกับ HE22-GLY281, OE2-GLU376 และ HZ3-LYS511 และมีค่า IC₅₀ ต่ำดังนั้นจึงทำให้เห็นว่า Utibapril เป็นยาที่มีประสิทธิภาพดีที่สุดในปัจจุบัน ซึ่งงานวิจัยนี้จะช่วยให้เข้าใจกลไกการออกฤทธิ์ของยากลุ่มนี้ ได้ดียิ่งขึ้น รวมถึงจะเป็นประโยชน์ต่อการค้นคว้าพัฒนายารักษาโรคตัวใหม่ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นen_US
dc.description.abstractalternativeHypertension (High Blood Pressure, HT) is the second leading cause of death and disability worldwide. One choices to treat high blood pressure is to heal it by now, Angiotensinconverting enzyme (ACE). Currently, there are many high blood pressure medicines that inhibit the action of ACE. In fact, each drug they can not effective in using it. In this study, we compared structural data on 24 types of inhibition and interaction between these inhibitors with Receptor, Angiotensin-converting enzyme. The results of the calculation found similar amino acids are ALA1, SEP284, and GLU 411 with different in bonding positions, and in highefficiency receivers, hydrogen bonds with HE22-GLY281, OE2-GLU376 and HZ3- LYS511 and low IC₅₀. Therefore, based on the observed analysis, Utibapril is the most effective drug currently available. This study reveals the action mechanism of this drug. It will also be useful to find new and more effective medicinesen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความดันเลือดสูงen_US
dc.subjectสารยับยั้งเอนไซม์en_US
dc.subjectHypertensionen_US
dc.subjectEnzyme inhibitorsen_US
dc.titleการคำนวณการเข้าจับเชิงโมเลกุลระหว่างเอซีอีกับสารยับยั้งที่ใช้ในการรักษาโรคความดันโลหิตสูงen_US
dc.title.alternativeMolecular Docking calculations of Angiotensin-converting enzyme (ACE) and Inhibitors for high pressure blooden_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chutimon Ch_SE_2560.pdf7.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.