Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78332
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorขนิษฐา พุดหอม-
dc.contributor.authorอิสรีย์ จรรยารติพงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-03-25T03:19:59Z-
dc.date.available2022-03-25T03:19:59Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78332-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมี. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562en_US
dc.description.abstractปัจจุบันทั่วโลกกำลังเผชิญกับภาวะโลกร้อน ความร้อนจากแสงแดดกระตุ้นให้ร่างกายผลิต เม็ดสีเม ลานินมากขึ้น เป็นเหตุให้ผิวหมองคล้ำ มีรอยเหี่ยวย่นบนผิวหนัง เกิดปัญหาฝ้าและกระ อีกทั้งอาจก่อให้เกิด มะเร็งผิวหนังได้ งานวิจัยนี้จึงได้นำผักแขยง (Limnophila aromatica (Lam.) Merr.) ซึ่งเป็นผักพื้นบ้านที่ สามารถพบได้ในทุกภาคของประเทศไทย และมีสารประกอบหลักเป็นสารกลุ่มฟีนอลิก มาสกัดแยกเพื่อ ทดสอบฤทธิ์ในการยับยั้งการสร้างเม็ดสีเมลานิน ทำให้ได้สารบริสุทธิ์สองชนิดได้แก่ 5-demethyl tangeretin และ xanthomicrol พิสูจน์ทราบโครงสร้างจากวิธีทางสเปคโตสโคปี ได้แก่ เทคนิคนิวเคลียร์แมกเนติกเร โซแนนซ์สเปกโทรสโกปี (NMR) และ เทคนิคอินฟราเรดสเปคโตรสโกปี (IR) และได้ส่วนสกัดหยาบย่อยจำนวน 50 ส่วน จากการนำสารที่สกัดได้ทั้งหมดไปทดสอบฤทธิ์ในการยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนสบน TLC และบน 96- well plates โดยใช้ L-tyrosine และ L-DOPA เป็นสับสเตรท และ Kojic acid เป็นสารควบคุมเพื่อหาค่า IC₅₀ พบว่าส่วนสกัดหยาบย่อยที่ D4.5 ให้ผลการยับยั้งที่ดีที่สุด โดยมีค่า IC₅₀ 9.66 และ 11.25 μg/mL ที่ใช้ L-tyrosine และ L-DOPA เป็นสับสเตรทตามลำดับ และจากการทดสอบความเป็นพิษต่อเซลล์โดยใช้ MTT assay พบว่าส่วนสกัดหยาบย่อยที่ D4.5 ไม่เป็นพิษต่อเซลล์ที่ความเข้มข้น 50 และ 100 μg/mL จึงสามารถ นำไปสกัดต่อเพื่อใช้เป็นยาหรือเครื่องสำอางที่ออกฤทธิ์ในการยับยั้งเม็ดสีเมลานินได้en_US
dc.description.abstractalternativeNowadays, the world is facing global warming. Sunlight can stimulate more melanin pigment that causes dull skin, wrinkles, freckles, melasma and skin cancer. This research focused on melanogenesis inhibitory activity of the extracts from Limnophila aromatica (Lam.) Merr., a local plant found in all regions of Thailand and the major constituents are phenolic. Two pure compounds, 5-demethyl tangeretin and xanthomicrol were purified from L. aromatica (Lam.) Merr. The structures of the isolated compounds were confirmed by spectroscopic methods, mainly NMR and IR spectroscopy. In addition, fifty subfractions were obtained and were tested for their anti-melanogenesis by Mushroom tyrosinase inhibition assay on TLC and 96-well plates, used L-tyrosine and L-DOPA as a substrate and Kojic acid as a positive control to obtain their IC₅₀. The results showed subfraction D4.5 provided the most potent activity with IC₅₀ values of 9.66 and 11.25 μg/mL for L-tyrosine and L-DOPA, respectively. Moreover, subfraction D4.5 did not show any significant cytotoxicity at concentrations of 50 and 100 μg/mL. Therefore, it can be further purified for use as a medicine or cosmetic that is effective in inhibiting melanin pigments.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเมลานินen_US
dc.subjectฟีนอลิกen_US
dc.subjectMelaninsen_US
dc.subjectPhenolic acidsen_US
dc.titleสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติกลุ่มฟีนอลิกที่มีฤทธิ์ยับยั้งการสร้างเม็ดสีen_US
dc.title.alternativePhenolic natural products with anti-melanogenesisen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62-SP-CHEM-053 - isaree janya.pdf1.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.