Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78471
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นราพร สมบูรณ์นะ | - |
dc.contributor.author | พรรณพนัช อัตตะ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-04-26T01:30:32Z | - |
dc.date.available | 2022-04-26T01:30:32Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78471 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาจุลชีววิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 | en_US |
dc.description.abstract | โครงสร้างและความหลากหลายของจุลินทรีย์ในดิน (ไมโครไบโอม) ส่งผลต่อคุณภาพดิน และการก่อ โรคของพืช โดยมีงานวิจัยพบว่าการใช้ไมโครไบโอมหรือการปรับประชากรจุลินทรีย์ที่หลากหลายในดิน สามารถแก้ปัญหาพืชการเกษตรและปัญหาเกี่ยวกับดินเรื้อรังได้หลายอย่าง เช่น พืชที่ทนความเค็มได้ และ คุณภาพดินที่ดีขึ้น ซึ่งเป็นปัญหาที่พบได้มากในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย โดยงานวิจัยนี้ได้ เลือกพื้นที่อุทยานแห่งชาติจังหวัดอุบลราชธานี ทั้งหมด 4 แห่ง ได้แก่ อุทยานแห่งชาติแก่งตะนะ อุทยาน แห่งชาติเขาพระวิหาร อุทยานแห่งชาติภูจองนายอย และอุทยานแห่งชาติผาแต้ม เนื่องจากเป็นจังหวัดขนาด ใหญ่ที่มีความหลากหลายของภูมิสัณฐานและทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อใช้เป็นตัวแทนของดินธรรมชาติหรือดิน ที่ไม่มีการสัมผัสกับกิจกรรมของมนุษย์และใช้เป็นฐานข้อมูลของจุลินทรีย์ในดินจังหวัดอุบลราชธานี ไป เปรียบเทียบกับดินในพื้นที่เกษตรกรรมเพื่อดูความแตกต่างของความหลากหลายของจุลินทรีย์ อีกทั้งยัง สามารถนาข้อมูลนี้มาใช้ปรับปรุงคุณภาพดินจากฐานข้อมูลของจุลินทรีย์ต่อไป ผลการวิจัยพบว่าดินในอุทยาน แห่งชาติจังหวัดอุบลราชธานีมีความชื้นในดินขึ้นอยู่กับลักษณะดินและบริเวณที่เก็บตัวอย่างดิน รวมทั้งมี ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และอินทรียวัตถุต่า ทาให้ไม่เหมาะสมต่อการเจริญของพืช | en_US |
dc.description.abstractalternative | Structure and biodiversity of microbes in soil (microbiome) affects quality of soil and pathogenicity of plants. Previous research shows using of microbiome and modulating communities of microbes manage agricuitural problems and chronical soil problems such as salinity tolerance plants and high quality soil. These Problems usually found in northeasthern region of Thailand so, soil in national park of Ubon ratchathani totally 4 places including Khao phra viharn national park, Phu jung nayoi national park, Kaeng tana national park and Pha taem national park are selected to represent natural soil that no associated with human activities and be database of microbes in soil of Ubon ratchathani because it is large province that has high diversity of geomorphology and natural resources. In addition, data can further used to improve soil quality from database of microbes. Results show soil from national park of Ubon ratchathani has low nitrogen, phosphorus, potassium and organic matters and water content depend on soil charactheristics and collect regions. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | จุลชีววิทยาทางดิน | en_US |
dc.subject | ดิน -- การวิเคราะห์ | en_US |
dc.subject | Soil microbiology | en_US |
dc.subject | Soils -- Analysis | en_US |
dc.title | การเปรียบเทียบไมโครไบโอมในดินและคุณสมบัติของดินในอุทยานแห่งชาติจังหวัดอุบลราชธานี | en_US |
dc.title.alternative | Comparison of soil microbiome and their properties in national park of Ubon ratchathani | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
62-SP-MICRO-017 - Panpanach Atta.pdf | 961.99 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.