Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78515
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จิตรตรา เพียภูเขียว | - |
dc.contributor.author | ธีรนาฏ จิตต์สนธิ์ | - |
dc.contributor.author | ชนิตา ปาลิยะวุฒิ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-05-02T09:23:24Z | - |
dc.date.available | 2022-05-02T09:23:24Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78515 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563 | en_US |
dc.description.abstract | เห็ดนางรมทอง (Pleurotus citrinopileatus) เป็นเห็ดรับประทานได้ที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูงและมีมูลค่าทางเศรษฐกิจแต่อย่างไรก็ตามผลผลิตที่ต่ำและระยะเวลาในการเพาะปลูกที่ยาวนาน ยังคงเป็นหนึ่งในขีดจำกัดของการเพาะเห็ดนางรมทองเพื่อการค้าทางเศรษฐกิจ ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงพันธุ์เห็ดนางรมทองให้มีผลผลิตและระยะเวลาในการเพาะปลูกของดอกเห็ดที่ดีขึ้น โดยการใช้วิธีการผสมพันธุ์ระหว่างเส้นใยนิวเคลียสเดี่ยว (monokaryon) จำนวนทั้งหมด 20 สายพันธุ์ที่ได้มาจากสายพันธุ์พ่อแม่ (ALและBL) ผสมแบบพบกันหมดทุกคู่ โดยจะทำการประเมินลูกผสมผ่านกระบวนการเปรียบเทียบทั้งอัตราการเจริญของเส้นใยและประสิทธิภาพของผลผลิตด้วยค่า biology efficiency (B.E.) ระหว่างสายพันธุ์พ่อแม่ (AL และ BL) กับสายพันธุ์ลูกผสม (C1-C18) ผลจากการคัดเลือกลูกผสมที่ได้ พบว่าสายพันธุ์ AL4xBL1 (C10) ให้อัตราการเจริญของเส้นใยในอาหารเลี้ยง PDA สูงถึง 17.27 ±0.23 มิลลิเมตร/วัน และในวัสดุเพาะขี้เลื่อยที่สูงถึง 7.11 ±0.25 มิลลิเมตร/วัน ซึ่งมากกว่าสายพันธุ์พ่อแม่ (AL และ BL) อย่างมีนัยสำคัญ นอกจากนี้ยังพบว่าลูกผสมสายพันธุ์ AL4xBL1 (C10) ให้ค่าเฉลี่ย biology efficiency (B.E.) ได้ถึง 16.83% ผลการศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่าสายพันธุ์ลูกผสม C10 ที่พัฒนาโดยใช้เทคนิคไฮบริไดเซชันนี้สามารถให้สายพันธุ์เห็ดนางรมทองที่มีลักษณะของพันธุ์ที่ดีขึ้น | en_US |
dc.description.abstractalternative | Pleurotus citrinopileatus, is a precious edible mushroom with high nutritional and economic value. However, its low yield and long cultivation period limit its commercial cultivation. This study aimed to improve the characteristic and yield of P. citrinopileatus using mono-mono crossing technique. Twenty monokaryon cultures of the parental lines, AL and BL were crossed in all combinations. All obtained hybrids were cultured to evaluate their mycelial growth rates and biology efficiencies (B.E.) comparing with the parental lines. The selected hybrid, AL4 BL1 (C10) gave the highest growth rate of 17.27 ± 0.23 and 7.11 ± 0.25 mm/day on PDA and sawdust substrate, respective that was significant difference from parent. In addition, the hybrid strain C10 showed the highest biological efficiency (B.E.) of 16.83%. The results obtained from this study indicated that C10 strain from the hybridization technique can lead to improve the growth and productivity of mushroom strains, especially P. citrinopileatus. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | เห็ดนางรม -- การปรับปรุงพันธุ์ | |
dc.subject | เห็ดนางรมทอง -- การปรับปรุงพันธุ์ | |
dc.subject | Pleurotus ostreatus -- Breeding | |
dc.title | การปรับปรุงพันธุ์เห็ดนางรมทอง (Pleurotus citrinopileatus Singer.) โดยเทคนิคไฮบริไดเซชัน | en_US |
dc.title.alternative | Strain improvement of Pleurotus citrinopileatus Singer. Using hybridization technique | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63-SP-GENE-009 - Teeranat Jitson.pdf | 25.94 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.