Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78582
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริลักษณ์ พุ่มประดับ-
dc.contributor.advisorโรจน์ฤทธิ์ โรจนธเนศ-
dc.contributor.authorกฤตวัฒน์ สุวานิชย์-
dc.contributor.authorจรรยพร ทับยูง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-05-12T02:15:27Z-
dc.date.available2022-05-12T02:15:27Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78582-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีเทคนิค คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562en_US
dc.description.abstractกลิ่นไม่พึงประสงค์นับเป็นมลภาวะอย่างหนึ่งที่ก่อให้เกิดความรำคาญและเป็นสิ่งรบกวนผู้ที่อยู่ในบริเวณนั้น ซึ่งกลิ่นอาจใช้เวลานานในการจางหายไป เพื่อทำให้กลิ่นไม่พึงประสงค์จางไวขึ้น งานวิจัยนี้ได้พัฒนาโฟมยางธรรมชาติดูดซับกลิ่นจากยางธรรมชาติเพื่อดูดซับกลิ่นอันไม่พึงประสงค์ อย่างไรก็ตาม การดูดซับกลิ่นจากโฟมยางธรรมชาติเพียงอย่างเดียวมีประสิทธิภาพในการดูดซับสารต่ำ จึงต้องมีการปรับปรุงคุณภาพยางโดยการเติมสารเคมีเข้าไปผสม ในงานวิจัยนี้ยางธรรมชาติถูกออกแบบให้เป็นโฟมยางร่วมกับสาร Trapital ซึ่งเป็นสารที่มีความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต โดยโฟมยางธรรมชาติถูกออกแบบเป็น 3 ชนิดได้แก่ โฟมยางธรรมชาติ โฟมยางธรรมชาติที่ผสมร่วมกับTrapital ระหว่างขึ้นรูป และโฟมยางธรรมชาติที่แช่ในสารละลาย Trapital 25% โดยน้ำหนัก นำไปทำการทดสอบการดูดซับกลิ่นแอมโมเนียและการนำกลับมาใช้ใหม่ด้วยการล้างน้ำสะอาด ทำให้โฟมยางธรรมชาติแห้งสนิท แล้วนำมาทดสอบการดูดซับกลิ่นแอมโมเนียซ้ำ จากผลการทดลองพบว่าเมื่อเติม Trapital ทำให้โฟมยางสามารถดูดซับกลิ่นแอมโมเนียได้ โดยโฟมยางธรรมชาติที่แช่ในสารละลาย Trapital 25% โดยน้ำหนักสามารถดูดซับกลิ่นได้ดีที่สุด ใช้เวลาเฉลี่ยในการดูดซับกลิ่น 65 วินาที และสามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ถึง 5 ครั้งen_US
dc.description.abstractalternativeUnwanted odors are considered one of the pollutions which cause annoyance to people living nearby. It takes a while for those unpleasant odors to disappear. In order to accelerate the elimination of the odor in question, the present research aims at developing a natural rubber foam made from natural rubber. However, the usage of a natural rubber foam reveals a low odor adsorption efficiency; therefore, the natural rubber foam needed to be added some chemicals to improve the odor adsorption ability. In this research, the natural rubber foam was designed to be rubber foam together with Trapital, a substance which is environmentally friendly and not harmful to organisms. The natural rubber foam resulted from this research can be divided into three types: natural rubber foam, natural rubber foam together with Trapital during forming, and natural rubber foam with Trapital 25% w/w. These three types of the natural rubber foams then were tested their ammonia adsorption and their reusability with clean washing which yielded to completely dry natural rubber foam. The process of ammonia adsorption was repeated. The results show that the natural rubber foam with Trapital 25% w/w can adsorb the most ammonia odor and can be reused for 5 times.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการควบคุมกลิ่นen_US
dc.subjectยางธรรมชาติen_US
dc.subjectOdor controlen_US
dc.subjectNatural rubberen_US
dc.titleการพัฒนาฟองน้ำกำจัดกลิ่นจากยางธรรมชาติen_US
dc.title.alternativeDevelopment of a deodorizing sponge from natural rubberen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62-SP-CHEMENG-023 - Janyaporn Tub.pdf933.02 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.