Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78629
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธราพงษ์ วิทิตศานต์-
dc.contributor.authorฤทัยวรรณ พฤติบวรสกุล-
dc.contributor.authorสุทธิภาคย์ จุลานุพันธ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-05-18T09:25:04Z-
dc.date.available2022-05-18T09:25:04Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78629-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีเทคนิค คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562en_US
dc.description.abstractในการทำเหมืองแร่จะมีการถลุงถ่านหินขนาดใหญ่ออกมาใช้ในงานอุตสาหกรรมหรือการผลิตกระแสไฟฟ้าแต่จะมีถ่านหินขนาดเล็กซึ่งก็คือเศษซับบีทูมินัสที่ไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จำนวนมากส่งผลให้เกิดแนวความคิดเพิ่มมูลค่าด้วยการนำมาใช้เป็นวัตถุดิบตั้งต้นเพื่อผลิตถ่านกัมมันต์ งานวิจัยนี้จึงมีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาวิธีการและภาวะที่เหมาะสมในการผลิตถ่านกัมมันต์จากซับบิทูมินัสด้วยกระบวนการกระตุ้นทางเคมี โดยใช้อัตราส่วนวัตถุดิบต่อโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ (KOH) และแคลเซียมแมกนีเซียมคาร์บอเนต (CaMg(CO₃) ₂) เป็น 1:2 โดยน้ำหนักและเวลาในการกระตุ้น 3 ชั่วโมง อุณหภูมิที่ใช้ในการกระตุ้น (700, 750 และ 800 องศาเซลเซียส) จากนั้นนำถ่านกัมมันต์มาวิเคราะห์สมบัติทางเคมีและกายภาพ ด้วยเครื่องวิเคราะห์สมบัติเบื้องต้น ((Proximate analysis) เพื่อหาค่าความชื้น ปริมาณขี้เถ้า ปริมาณสารระเหย ปริมาณคาร์บอนคงตัว และเครื่องวิเคราะห์ค่าพื้นที่ผิวรูพรุน (BET) เพื่อให้ได้ค่าพื้นที่ผิวสูงสุดพบว่าสภาวะที่กระตุ้นถ่านกัมมันต์ที่ดีที่สุดคือกระบวนการกระตุ้นด้วยโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ (KOH) โดยอัตราส่วนซับบิทูมินัสต่อสารเคมีเป็น 1:2 โดยน้ำหนักทั้งสองสาร เป็นระยะเวลา 3 ชั่วโมงที่อุณหภูมิ 850 องศาเซลเซียสซึ่งให้ค่าพื้นที่ผิว 960.4472 ตารางเมตรต่อกรัมen_US
dc.description.abstractalternativeIn mining, large-sized coal smelting is used for industrial applications or electricity generation. But there are a lot small coals, which are a fraction of bituminous waste, cannot be utilized. The result activated carbon Potassium Hydroxide (KOH) and Calcium Magnesium Carbonate (CaMg(CO₃) ₂) production are 1:2 by weight with 3 hours The temperature of activating are 700, 750 and 800 degrees Celsius. The next step is the analysis of chemical and physical properties with a Proximate analysis (Volatile Matter, Ash, Moisture and Fixed Carbon). BET analysis is an analysis technique for measurement of the maximum surface area of materials. The best condition for activated carbon in this project is activated by KOH with 1:2 by weight of sub-bituminous for 3 hours at 850 degrees Celsius, giving the surface area 960.4472 square meters per gram.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectคาร์บอนกัมมันต์en_US
dc.subjectถ่านหินซับบิทูมินัสen_US
dc.subjectโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์en_US
dc.subjectCarbon, Activateden_US
dc.subjectSubbituminous coalen_US
dc.subjectPotassium hydroxideen_US
dc.titleการเตรียมถ่านกัมมันต์จากซับบิทูมินัสโดยกระบวนการกระตุ้นด้วยโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์และแคลเซียมแมกนีเซียมคาร์บอเนตen_US
dc.title.alternativePreparation of activated carbon from Subbituminous by activation with Potassium Hydroxide and Calcium Magnesium Carbonateen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62-SP-CHEMENG-003 - Ruetaiwan Phrue.pdf916.47 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.