Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78652
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorณัฐนนท์ กิตติอมรพงศ์-
dc.contributor.authorกรกช ตั้งเสถียรกิจ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.contributor.otherกาวี ศรีกูลกิจ-
dc.date.accessioned2022-05-23T01:14:57Z-
dc.date.available2022-05-23T01:14:57Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78652-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาวัสดุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562en_US
dc.description.abstractเส้นใยเป็นหนึ่งในวัตถุดิบหลักในการผลิตเครื่องนุ่งห่ม ซึ่งเป็นปัจจัยสี่ที่สำคัญของมนุษย์ เส้นใยมีประโยชน์หลายด้าน อาทิ เครื่องนุ่งห่ม อีกด้านที่น่าสนใจคือการใช้ประโยชน์ในด้านอุตสาหกรรม ได้แก่ เส้นใยคาร์บอน ด้วยเส้นใยคาร์บอนมีความสามารถในด้าน ความแข็งแรง ต้านทานแรงดึง น้ำหนักเบา ทนต่อสารเคมีทนต่ออุณหภูมิ และอัตราการขยายตัวต่อความร้อนต่ำ จึงทำให้เส้นใยคาร์บอนเป็นวัสดุที่ได้รับความนิยมมากในอุตสาหกรรมการบินและวิศวกรรมอวกาศการทหาร มอเตอร์สปอร์ตการแข่งขันกีฬาและอีกมากมาย แต่ข้อจำกัดของเส้นใยคาร์บอนคือ เส้นใยคาร์บอนมีราคาสูงเมื่อเทียบกับเส้นใยชนิดอื่นกระบวนการสังเคราะห์ทำได้ยาก ต้องใช้อุณหภูมิในการสังเคราะห์สูง ซึ่งเป็นการสิ้นเปลืองพลังงานและเวลา งานวิจัยเล่มนี้จึงนำเส้นใยพอลิอะคริโลไนไตร์ล (PAN) ดึงยึดและเคลือบโดยพอลิอะนิลีน (PANi) ผ่านการดึงยืด PAN ให้ได้เส้นใยอะคริลิก หลังจากนั้นนำเส้นใยผ่านกระบวนการรักษาเสถียรภาพ โดยทำการเคลือบโดยพอลิอะนิลีน จึงทำการเลือกเส้นใยอะคริลิคเนื่องจากเส้นอะคริลิคมีหมู่ไนโตรเจนในโครงสร้าง และเป็นวัตถุดิบหลักในการผลิตเส้นใยคาร์บอน ที่สามารถหาได้ง่ายที่สุด ราคาต้นทุนต่ำที่สุด เทียบกับเส้นใยในการผลิตเส้นใยคาร์บอนชนิดอื่น เช่น เส้นใยแก้ว และเส้นใยถ่านหิน เมื่อทำการเคลือบเส้นใยอะคริลิคโดยพอลิอะนิลีนเรียบร้อย จึงทำการวิเคราะห์น้ำหนักโมเลกุลของผลิตภัณฑ์ที่ทำการเคลือบโดยเครื่องศึกษาการเปลี่ยนแปลงน้ำหนักของสาร (TGA) เพื่อตรวจดูน้ำหนักที่เปลี่ยนไปหลังผ่านกระบวนการรักษาเสถียรภาพ ทดสอบความเหนียวของชิ้นงานหลังเคลือบโดยเครื่องทดสอบแรงดึง วิเคราะห์โครงสร้างเคมีของชิ้นงานหลังผ่านกระบวนการด้วยเทคนิคฟูเรียร์ทรานส์ฟอร์มอินฟาเรดสเปกโทรสโคปี FT-IRen_US
dc.description.abstractalternativeFiber is one of the most important material that can be produced in clothing. Carbon fiber is the most outstanding fiber for improvement in industry because it has many quality in strength, tensile strength ,insistence with chemical and heat etc. High expenditure of manufacture processing Carbon fiber compares with other fabers so this research coat Polyaniline on Acrylic fiber for reducing stabilization time and cost in process by maintainance mechanical properties of carbon fiber. The first step is maximum stretching Acrylic fiber. The second, stabilize Acrylic fiber that coated by Polyaniline .The last step is chemical analysis ; molecular weight by TGA analysis and chemical structure by FTIR analysis.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเส้นใยคาร์บอนen_US
dc.subjectโพลิอะนิลีน-
dc.subjectCarbon fibers-
dc.subjectPolyanilines-
dc.titleผลของ PANi ต่อปฏิกิริยา stabilization ของพอลิอะคริโลไนไตรในกระบวนการผลิตเส้นใยคาร์บอนen_US
dc.title.alternativeEffect of Polyaniline on Stabilization PAN in Carbon Fiber Processen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62-SP-MATSCI-014 - Nuttanon Kitti.pdf758.27 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.