Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78653
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประสิทธิ์ พัฒนะนุวัฒน์-
dc.contributor.authorกัญญ์วรา แซ่ด่าน-
dc.contributor.authorกานต์สิรี แก้วมรกต-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-05-23T01:54:31Z-
dc.date.available2022-05-23T01:54:31Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78653-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาวัสดุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีความสนใจที่จะพัฒนาอุปกรณ์กักเก็บพลังงานไฟฟ้าแบตเตอรี่สังกะสีไอออนขั้วแคโทดโดยใช้วัสดุเชิงประกอบ พอลิไพโรลและแมงกานีสไดออกไซด์แบบยืดหยุ่นสูง โดยวัสดุเชิงประกอบของพอลิไพโรล/แมงกานีสไดออกไซด์ถูกสังเคราะห์โดยวิธีฝังตัวทางเคมีไฟฟ้าลงบนกระดาษคาร์บอน โดยองค์ประกอบในการศึกษามุ่งเน้นศึกษาอัตราส่วนที่เหมาะสมในการสังเคราะห์วัสดุเชิงประกอบพอลิไพโรล/แมงกานีสไดออกไซด์ โดยใช้อัตราส่วนโมลของไพโรลมอนอเมอร์ต่อแมงกานีสไดออกไซต์ดังนี้ 1:0, 1:1, 1:2, 1:4, 0:1 ตามลำดับ โดยการวิเคราะห์ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของพอลิไพโรลถูกตรวจสอบด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด โครงสร้างทางเคมีหมู่ฟังก์ชันทางเคมีของพอลิไพโรลที่ถูกสังเคราะห์ถูกยืนยันด้วยเทคนิคฟูเรียร์ทรานส์ฟอร์มอินฟราเรดสเปกโทรสโคปี ส่วนการวิเคราะห์การเกิดผลึกของแมงกานีสไดออกไซด์ถูกวิเคราะห์ด้วยเทคนิคการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์ ทำการวิเคราะห์สมบัติทางไฟฟ้าเคมีของขั้วไฟฟ้าที่ผ่านการอิเล็กโทรดิโพสิตบนวัสดุรองรับกระดาษคาร์บอน และศึกษาประสิทธิภาพการกักเก็บพลังงานไฟฟ้าของขั้วไฟฟ้าแคโทดจากวัสดุเชิงประกอบของพอลิไพโรล/แมงกานีสไดออกไซด์ ที่สังเคราะห์ได้โดยจากการวิเคราะห์สมบัติทางไฟฟ้าเคมีด้วยเทคนิคไซคลิกโวททาเมทรี และสมบัติทางไฟฟ้าเคมีด้วยเทคนิคกัลล์วาโนสแตติก ชาร์จ ดีสชาร์จ เพื่อเปรียบเทียบการอัดและการคายประจุของกระแสไฟฟ้า โดยได้อัตราส่วนที่เหมาะสมที่สุดที่เลือกใช้ คือ พอลิไพโรลต่อแมงกานีสไดออกไซด์ที่ 1:2 ซึ่งสมารถคงเสถียรภาพในการเก็บประจุไว้ได้ถึง 67.80 % หลังผ่านการใช้งาน 30 รอบen_US
dc.description.abstractalternativeThis research is interesting in developing a flexible zinc ion battery by cooperation of polypyrrole with manganese dioxide as a composite material for zinc cathode which are successfully synthesized via electro-deposition on a carbon paper. The different ratio of polypyrrole (PPy) to manganese dioxide (MnO₂) of 1:0, 1:1, 1:2, 1:4 and 0:1 are determined to find the optinum condition. The chemical structure is studied by Fourier Transform Infrared Spectroscopy, revealing the evident characteristic of polypyrrole signals. Moreover, the crystallization is studied by X-ray Diffractometer, indicating the characteristic of manganese dioxide. The analysis of electrochemical properties using cyclic voltammetry (CV) and Galvanostasitic charge-discharge (GCD) is used to elvauate the performance of battery.The results reveal that composite materials cathode obtained from polypyrrole/manganese dioxide at 1:2 ratio exhibit the highest performance stability through 30 cycles with 67.8 % in stability retention.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแบตเตอรี่en_US
dc.subjectแคโทดen_US
dc.subjectขั้วไฟฟ้าen_US
dc.subjectElectric batteriesen_US
dc.subjectCathodesen_US
dc.subjectElectrodesen_US
dc.titleการเตรียมขั้วไฟฟ้าเชิงประกอบพอลิไพโรล/แมงกานีสไดออกไซด์เพื่อใช้เป็นขั้วไฟฟ้าแคโทดในแบตเตอรี่สังกะสีไอออนen_US
dc.title.alternativeThe preparation of polypyrrole/manganese oxide composites for cathode in zinc-ion batteryen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62-SP-MATSCI-011 - Kanwara Saedan.pdf1.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.