Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78692
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุจิตรา สื่อประสาร-
dc.contributor.authorพิชชากร รุ่งสรรเสริฐ-
dc.contributor.authorปัณฑารีย์ บุญที่สุด-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-06-01T06:34:22Z-
dc.date.available2022-06-01T06:34:22Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78692-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเทคโนโลยีทางภาพและการพิมพ์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563en_US
dc.description.abstractโครงการนี้ศึกษาการกำหนดสีฟิลเตอร์ด้วยวิธีที่แตกต่างกันสำหรับการจำลองสีลิปสติกบนริม ฝีปาก ทดลองโดยการแสดงรูปตัวอย่างบนแบบสอบถามทางออนไลน์ผ่าน Google Form ให้ผู้สังเกต เปรียบเทียบภาพที่ทาลิปสติกจริงกับภาพที่จำลองสีริมฝีปากจากวิธีที่ต่างกัน 3 วิธี จากนั้นเลือกภาพที่มีสีริม ฝีปากใกล้เคียงกับการทาลิปสติกจริงมากที่สุดแล้วให้คะแนนความพึงพอใจต่อภาพนั้น ใช้ตัวอย่างสีลิปสติก ทั้งหมด 8 สี แต่ละสีมีผู้ทดลองที่เป็นบุคคลที่ใช้ลิปสติกและเคยซื้อลิปสติกจากทางออนไลน์จำนวน 2 คน และ มีภาพที่ให้เปรียบเทียบทั้งหมด 4 ภาพ คือ ภาพที่ทาลิปสติกจริง ภาพที่จำลองสีลิปสติกด้วยค่าสี L*a*b* ภาพ ที่จำลองสีลิปสติกด้วยค่าสี RGB และภาพที่จำลองสีลิปสติกด้วยค่าสีจากแอพลิเคชัน Adobe capture รวม เป็น 8 ภาพ ต่อ 1 สีลิปสติกตัวอย่าง มีผู้สังเกตที่เข้าร่วมทั้งหมด 105 คน จากผลการทดลองพบว่า วิธีที่ดีที่สุด ในการกำหนดค่าสีฟิลเตอร์สำหรับการจำลองสีริมฝีปากที่ทาลิปสติกด้วยโปรแกรม Spark AR คือ การใช้ค่าสี L*a*b* ที่ได้จากการวัดสีจากแท่งลิปสติกด้วยเครื่องเสปกโทรเรดิโอมิเตอร์ และนำมาหาค่าความความทึบแสง ของลิปสติกเพื่อนำมาสร้างเป็นฟิลเตอร์ พื้นสีริมฝีปากของผู้ทดลองไม่มีผลต่อวิธีการจำลองสี แต่ตัวอย่างสี ลิปสติกมีผลต่อวิธีการกำหนดสีฟิลเตอร์ที่ทำให้ภาพจำลองสีริมฝีปากเหมือนกับการทาสีลิปสติกจริงลงบนริม ฝีปากโดยตรงen_US
dc.description.abstractalternativeThis project studied methods of defining filter colour for lipstick colour simulation on lips. The experiments were done online via Google Form, where observers compared images of subjects applied a real lipstick on their lips with images simulated from three different methods. The observers then selected an image with the lip color closest to the actual lipstick and rated its satisfaction. There were eight colour lipstick samples with two subjects who had experience on using and buying lipsticks online. There were four images for comparing: an image of a subject with the actual lipstick applied on the lips and three simulated lipstick colour images from three different methods. The three methods obtained filter colours differently: 1) from L*a*b*, 2) from RGB and 3) from Adobe Capture application. For one lipstick samples, there were eight images. 105 observers participated in the experiments. It was found that the best method of defining filter for lipstick color simulation with Spark AR application was the method that used L*a*b* values obtained by measuring the lipstick colour with a spectroradiometer and then calculated the opacity of the lipstick. No effect of different subjects was found on the colour simulation method. However, different lipstick samples affected the accuracy of simulation methods.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectลิปสติก -- สีen_US
dc.subjectการแต่งหน้า -- แบบจำลองen_US
dc.subjectLipstick -- Coloren_US
dc.subjectCosmetics -- Modelsen_US
dc.titleการกำหนดสีฟิลเตอร์สำหรับการจำลองสีลิปสติกบนริมฝีปากen_US
dc.title.alternativeDefining Filter Colour for Lipstick Colour Simulation on Lipsen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63-SP-IMAGE-011 - Pitchakorn Rungsansert.pdf34.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.