Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78706
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พีรพัฒ โชคสุวัฒนสกุล | - |
dc.contributor.author | พิจิตรี เลิศลักษณาพร | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-06-02T08:46:21Z | - |
dc.date.available | 2022-06-02T08:46:21Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78706 | - |
dc.description | เอกัตศึกษา (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564 | en_US |
dc.description.abstract | เอกัตศึกษาฉบับนี้มุ่งศึกษาถึงปัญหาและผลกระทบของพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วน บุคคล พ.ศ. 2562 ที่มีต่อวิชาชีพผู้สอบบัญชีในประเทศไทย เนื่องจากการตรวจสอบบัญชีเป็นหนึ่งใน งานที่ให้ความเชื่อมั่นซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับข้อมูลที่อาจประกอบไปด้วยข้อมูลส่วนบุคคล เนื่องจาก ผู้สอบบัญชีจะใช้ข้อมูลดังกล่าวเป็นหลักฐานซึ่งช่วยให้ผู้สอบบัญชีสามารถแสดงความเชื่อมั่น หรือ แสดงข้อเท็จจริงที่มีต่องานที่ได้ปฏิบัติ โดยในการได้มาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีนี้ ผู้สอบบัญชีได้รับ ข้อมูลในฐานะที่เป็นผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลสําหรับการตรวจสอบงบการเงิน นอกจากนี้ ผู้สอบบัญชี ยังเป็นผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล เนื่องจากได้มีการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล ตามคําสั่งหรือในนามของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล จากการเข้าไปทําสัญญากับผู้ควบคุมข้อมูลส่วน บุคคลสําหรับงานที่ให้ความเชื่อมั่นอื่น ๆ อย่างไรก็ตาม ประเด็นการได้รับข้อมูลส่วนบุคคลดังกล่าวยังไม่ได้มีการระบุขอบเขตของ ข้อมูลส่วนบุคคล รวมไปถึงวิธีการจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งก่อให้เกิดความเสี่ยงที่ผู้สอบบัญชีได้รับ ข้อมูลจากนอกเหนือจากความจําเป็นเพื่อที่จะใช้เป็นหลักฐานสอบบัญชี รวมถึงมีการจัดเก็บที่อาจไม่ เหมาะสม ทั้งนี้การให้ความจํากัดความและขอบเขตที่อนุญาตให้ผู้สอบบัญชีเข้าถึงข้อมูล และแนวการ จัดเก็บข้อมูลถือเป็นสิ่งที่สําคัญอย่างยิ่งในการสร้างความเข้าใจและทําให้เกิดการปฏิบัติตามหลักของ กฎหมายได้ดียิ่งขึ้น ด้วยเหตุนี้ ควรมีการกําหนดนิยามของข้อมูลที่ผู้สอบบัญชีจะตรวจสอบให้ชัดเจน เพื่อกําหนด ขอบเขตและควรกําหนดแนวปฏิบัติในการจัดเก็บข้อมูลโดยคํานึงถึงความเหมาะสมในวัตถุประสงค์ ของการจัดเก็บข้อมูลอีกด้วย | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2021.172 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ผู้สอบบัญชี | en_US |
dc.subject | การสอบบัญชี | en_US |
dc.title | ประเด็นการบังคับใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 ที่มีต่อผู้สอบบัญชี | en_US |
dc.type | Independent Study | en_US |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | กฎหมายเศรษฐกิจ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.subject.keyword | ่ข้อมูลส่วนบุคคล | en_US |
dc.subject.keyword | การตรวจสอบบัญชี | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.IS.2021.172 | - |
Appears in Collections: | Law - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6380026434.pdf | 1.32 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.