Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78785
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐพล พินทุโยธิน-
dc.contributor.authorพิมพ์นารา ณ นคร-
dc.contributor.authorวรรษา โสหา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-06-14T06:11:44Z-
dc.date.available2022-06-14T06:11:44Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78785-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมีเทคนิค คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563en_US
dc.description.abstractในปัจจุบันมีการปลดปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์จำนวนมาก ซึ่งนับเป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม โดยหนึ่งในสาเหตุสำคัญมาจากการปลดปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์จากภาคอุตสาหกรรม ดังนั้นการพิจารณาการนำคาร์บอนไดออกไซด์มาใช้ประโยชน์จึงเป็นทางเลือกที่น่าสนใจ โดยงานวิจัยนี้มีการศึกษากระบวนการผลิตเมทานอลจากการเติมไฮโดรเจนของคาร์บอนไดออกไซด์ ผ่านโปรแกรม Aspen Plus เพื่อศึกษาหาสภาวะที่เหมาะสม โดยการออกแบบกระบวนการและตัวแปรในการดำเนินการต่าง ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตเมทานอล จากการดักจับคาร์บอนโดยการดูดซึมของโมโนเอทาโนลามีนจากก๊าซไอเสียทางอุตสาหกรรมผ่านเข้าสู่กระบวนการผลิตเมทานอล ซึ่งสามารถเปลี่ยนร้อยละ 42 ของคาร์บอนไดออกไซด์เป็นเมทานอล 16,994 กิโลกรัมต่อชั่วโมง นอกจากนี้ยังมีการศึกษาผลของอุณหภูมิของเครื่องปฏิกรณ์แบบท่อที่ส่งผลต่อกระบวนการผลิตเมทานอล พบว่าสำหรับปฏิกิริยาสังเคราะห์เมทานอลที่อุณหภูมิสูงมีค่าคอนเวอร์ชันค่อนข้างน้อย ในขณะที่ปฏิกิริยาวอเตอร์แก๊สชิฟต์ย้อนกลับ (RWGS) พบว่ายิ่งอุณหภูมิเพิ่มขึ้น ค่าคอนเวอร์ชันก็ยิ่งเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ และเมื่อพิจารณาผลของความดันเครื่องปฏิกรณ์ที่ส่งผลต่อกระบวนการผลิตเมทานอล พบว่าสำหรับปฏิกิริยาสังเคราะห์เมทานอล ยิ่งความดันของเครื่องปฏิกรณ์เพิ่มขึ้น ค่าคอนเวอร์ชันของคาร์บอนไดออกไซด์ก็ยิ่งเพิ่มขึ้นด้วย ในขณะที่ปฏิกิริยาวอเตอร์แก๊สชิฟต์ย้อนกลับ (RWGS) พบว่าการเพิ่มขึ้นของความดันไม่มีผลต่อค่าคอนเวอร์ชันของคาร์บอนไดออกไซด์ สุดท้ายมีการประเมินการปลดปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ โดยพบว่ากระบวนการนี้สามารถลดการปลดปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ได้ถึง 1.97 กิโลกรัมต่อกิโลกรัมเมทานอล ซึ่งมีค่ามากกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับงานวิจัยอื่นen_US
dc.description.abstractalternativeAt present, a large amount of CO₂ is released. This is a major problem affecting living organisms and the environment. One of the major causes is the release of industrial CO₂. Therefore, considering the use of CO₂ is an attractive alternative. In this research, methanol production process from the hydrogenation of CO₂ was studied through the Aspen Plus program to determine the optimum conditions by designing processes and operating parameters to increase the efficiency of methanol production. CO₂ was captured by absorption of MEA from industrial flue gases and passed into the methanol production process which can convert 42 percent of captured CO₂ to 16,994 kilograms of methanol per hour. In addition, the effect of temperature in tubular reactor on methanol production process was also studied. It was found that the methanol synthesis reaction with high temperature had a relatively low conversion. During the RWGS reaction it was found that the temperature increased, the conversion rate also increased significantly, and when considering the result of the reactor's pressure which affects the production of methanol it was found that for the synthesis reaction of methanol as the reactor's pressure increases the conversion rate of CO₂ also increases. While with the RWGS reaction it was found that the increase in pressure has no effect to the CO₂ conversion rate. Lastly, with the assessment of the CO₂ emission it was found that this method is able to reduce the emission by up to 1.97 kilogram per kilogram of methanol, which is more significant in comparison to other research.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเมทานอลen_US
dc.subjectคาร์บอนไดออกไซด์en_US
dc.subjectไฮโดรเจนen_US
dc.subjectMethanolen_US
dc.subjectCarbon dioxideen_US
dc.subjectHydrogenen_US
dc.titleการจำลองกระบวนการผลิตเมทานอลโดยการเติมไฮโดรเจนของคาร์บอนไดออกไซด์en_US
dc.title.alternativeSimulation of a methanol production process from CO₂en_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63-SP-CHEMENG-007 - Pimnara Na nakorn.pdf28.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.