Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78791
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภัทรสินี ภัทรโกศล | - |
dc.contributor.author | พชรพล อโศกสกุล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-06-14T08:32:16Z | - |
dc.date.available | 2022-06-14T08:32:16Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78791 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหารูปแบบสมการที่เหมาะสมสำหรับการแพร่กระจายของโรค COVID-19 โดยใช้ข้อมูลของการแพร่ระบาดในประเทศสหรัฐอเมริกา จำนวน 44 รัฐ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติได้ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson’s correlation) และโมเดลถดถอยพหุที่ประกอบด้วยตัวแปรแบบจัดกลุ่ม (Multiple Regression model with categorical variable) ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยที่มีผลต่อจำนวนผู้ติดเชื้อ COVID-19 ได้แก่ ตำแหน่งที่ตั้งของรัฐฤดูกาลที่แตกต่างกันของแต่ละรัฐ จำนวนผู้ติดเชื้อสะสมของแต่ละรัฐ จำนวนผู้เสียชีวิตรายใหม่ของแต่ละรัฐ จำนวนผู้เสียชีวิตสะสมของแต่ละรัฐ จำนวนประชากรในแต่ละรัฐ อุณหภูมิเฉลี่ย และความหนาแน่นของประชากรที่แตกต่างกันในแต่ละรัฐ โดยโมเดลการแพร่กระจายของโรค COVID-19 ที่ผ่านการวิเคราะห์ด้วยโมเดลถดถอยพหุที่ประกอบด้วยตัวแปรแบบจัดกลุ่ม โดยใช้ปัจจัยข้างต้นที่กล่าวมา จะมีความแม่นยำที่ 70.4% เมื่อใช้ค่า R² | en_US |
dc.description.abstractalternative | The objective of this study is to find a proper model for COVID-19 pandemic using the pandemic data in 44 states of the United States of America. These data were analyzed using various statistical values: percentage, mean, Pearson’s correlation, and Multiple Regression model with categorical variable. It was shown in the study that factors affecting the number of COVID-19 cases are state locations, seasons at different times, cumulative number of infected people, new deaths, accumulated number of deaths, the population of each state, daily average temperature and the population density of each state. The diffusion model of COVID-19 in this study was analyzed by Multiple Regression model with categorical variable. By using the above factors mentioned, it will have an accuracy of 70.4%, measuring by R² | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | โรคติดต่อ -- การแพร่ระบาด -- แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ | en_US |
dc.subject | Communicable diseases -- Transmission -- Mathematical models | en_US |
dc.title | การศึกษาสมการที่เหมาะสมสำหรับการแพร่กระจายโรค COVID-19 | en_US |
dc.title.alternative | Proper equation studies for spreading COVID-19 disease | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63-SP-MATH-025 - Phacharaphon Asoksakul.pdf | 30.81 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.