Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78864
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุพัฒน์ เจริญพรวัฒนา-
dc.contributor.authorวิธี แจ่มโภคา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-06-17T08:44:47Z-
dc.date.available2022-06-17T08:44:47Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78864-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาควิชาจุลชีววิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562en_US
dc.description.abstractการหมักไซเลจเป็นการรักษาคุณภาพของพืชอาหารสัตว์ที่นิยมกันอย่างแพร่หลาย การหมักไซเลจเพื่อให้ได้คุณภาพดีจำเป็นต้องให้เกิดกระบวนการหมักอย่างสมบูรณ์ที่รวดเร็ว การใช้สารเติมแต่งจึงเป็นอีกทางเลือกเพื่อให้ได้ไซเลจที่มีคุณค่าทางโภชนะสูง การศึกษาครั้งนี้สนใจการใช้กากน้ำตาลที่มีคาร์โบไฮเดรตที่ละลายน้ำได้สูง และกากถั่วเหลืองที่มีโปรตีนสูงมาใช้เป็นสารเติมแต่งเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการหมักไซเลจร่วมกับหัวเชื้อแบคทีเรียกรดแล็กติก Lactobacillus casei AN2 ที่คัดแยกได้จากไซเลจข้าวโพดและพบว่าให้ผลผลิตกรดแล็กติกที่สูง โดยทดลองหมักไซเลจหญ้าเนเปียร์เป็นเวลา 14 วันร่วมกับกากน้ำตาลในอัตราส่วน 0.5%, 1%, 2% หรือกากข้าวโพดในอัตราส่วน 10%, 15%, 20% ของน้ำหนักหญ้าสด แล้วติดตามผลโดยวิเคราะห์ผลทางเคมีและนับจำนวนจุลินทรีย์พบว่าไซเลจที่เติมกากน้ำตาลมีระดับความเป็นกรดเบสลดลงอย่างรวดเร็วเมื่อเทียบกับชุดควบคุม และสามารถรักษาระดับความเป็นกรดเบสไว้ได้ที่ประมาณ 4.2 ซึ่งเหมาะสมต่อการหมัก ในการหมักที่เติมทั้งกากน้ำตาล และกากข้าวโพดมีมีจำนวนของแบคทีเรียกรดแล็กติกเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงแรกและคงไว้ได้ที่ประมาณ 10⁸ CFU/g และไซเลจที่เติมสารเติมแต่งทั้งสองสามารถจำกัดการเจริญเติบโตของเซลล์ยีตส์และรา และแบคทีเรียคอลิฟอร์มได้เป็นอย่างดี อย่างไรก็ตามไซเลจที่เติมกากข้าวโพดพบว่ามีกลิ่นเน่าเสียเกิดขึ้นหลังจากหมักผ่านไป 5 วัน การเติมหัวเชื้อแบคทีเรียกรดแล็กติก Lactobacillus casei AN2 กากน้ำตาล หรือการเติมทั้งสองอย่างร่วมกันจะให้ผลประสิทธิภาพการหมักที่ดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัดทั้งลักษณะทางกายภาพเช่นกลิ่นที่ดี, ระดับความเป็นกรดเบสที่ต่ำ และการจำกัดการเจริญของแบคทีเรียที่ไม่ต้องการได้เป็นอย่างดีen_US
dc.description.abstractalternativeEnsiling is the most popular process to preserve the forage. The quality of silage depends largely on the rapidity of the fermentation process. The use of additives is another alternative to achieve such a fermentation. In this study, we use molasses, which has a high content of water soluble carbohydrate and soybean meal for high content of protein as additives along with lactic acid bacterium Lactobacillus casei AN2, previously isolated form corn silage with high lactic acid production. Napier grass was ensiled for 14 days with molasses (0.5%, 1%, 2%) and molasses (0.5%+ L.casei AN2, 1%+ L.casei AN2, 2%+ L.casei AN2), soybean milled (10%, 15%, 20%) and soybean milled (10%+ L.casei AN2, 15%+ L.casei AN2, 20%+ L.casei AN2). Regarding chemical and microbiological analysis of silage, rapid decline in pH values was seen in molasses-added silage, in comparison with the control, and pH values was maintained at 4.2. Both additives resulted the increasing number of lactic acid bacterium and remained at 10⁸ CFU/g and the decreas of yeast-mould and coliform bacteria. However soybean meal-added silage gave spoiled smell on day 5 of ensiling. Addition of L.casei AN2, molasses, and L.casei AN2 + molasses improved the silage fermentation quality as shoe by a good smell, low pH values and controlling of undesirable micro-organism.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectพืชหมัก (อาหารสัตว์)en_US
dc.subjectแบคทีเรียกรดแล็กติก-
dc.subjectSilage-
dc.subjectLactic acid bacteria-
dc.titleผลของสารเติมแต่งต่อประสิทธิภาพการหมักไซเลจหญ้าเนเปียร์ด้วยแบคทีเรียกรดแล็กติกen_US
dc.title.alternativeEffect of additives on fermentation quality of Napier silage with lactic acid bacteriaen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62-SP-MICRO-032 - Vitee Jampoka.pdf1.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.