Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78878
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัชวาล ใจซื่อกุล-
dc.contributor.authorพงศ์ปณต สาเรือง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-06-20T06:39:35Z-
dc.date.available2022-06-20T06:39:35Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78878-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562en_US
dc.description.abstractขยะผสมที่ประกอบด้วยพลาสติกชีวภาพ เช่น แก้วกระดาษที่เคลือบด้วย Polybutylene succinate (PBS) มีปริมาณการใช้ที่เพิ่มมากขึ้นและมีการจัดการด้วยการฝังเพื่อช่วยในการย่อยสลายตามธรรมชาติภายในระยะเวลา 6 เดือน ในขณะที่การใช้หนอนนก Tenebrio molitor ในการช่วยย่อย Styrofoam และพลาสติกต่างๆ แต่ยังไม่พบกับการใช้กับขยะผสมพลาสติก PBS ที่เคลือบกระดาษ การศึกษานี้ได้เปรียบเทียบอัตราการย่อยสลายของแก้วกระดาษเคลือบพลาสติกชนิด PBS โดยใช้หนอนนก Tenebrio molitor และกระบวนการฝังกลบตามธรรมชาติ เพื่อเปรียบเทียบความสามารถของทั้งสองกระบวนการในการย่อยสลาย โดยนำแก้วกระดาษเคลือบพลาสติกชนิด PBS มาผ่านกระบวนการย่อยสลาย 4 ชุดการทดลองคือ ชุดควบคุม ชุดฝังกลบ ชุดเลี้ยงกับหนอนนก และสุดท้ายชุดที่เลี้ยงกับหนอนนกพร้อมใส่รำข้าว เป็นจำนวน 3 ซ้ำ ในระยะเวลาซ้ำละ 2 เดือน (8 สัปดาห์) ได้ผลว่าชุดที่ใช้การฝังกลบสามารถทำให้แก้วกระดาษเคลือบพลาสติกชนิด PBS มีน้ำหนักที่หายไปมากที่สุดถึง 22.62% และมีอัตราการย่อยสลายมากที่สุดมีค่าเป็น 0.0334 โดยถ้าเทียบกับชุดควบคุมจะมากกว่าถึง 10 เท่า และถ้าเทียบกับกลุ่มทดลองที่ใช้หนอนนกจะมากกว่าถึง 5-6 เท่า ทำให้มีความเป็นไปได้ในการที่จุลินทรีย์ที่อาศัยอยู่ในดินมีความสามารถในการย่อยสลายแก้วกระดาษที่เคลือบด้วย PBS ที่มากกว่าหนอนนกและมีประสิทธิภาพมากกว่า ทำให้มีความน่าสนใจในการตรวจสอบเพื่อหาจุลินทรีย์ที่มีความสามารถในการย่อยสลายพลาสติกชนิด PBS ต่อไปen_US
dc.description.abstractalternativeComposite waste from bioplastics and paper, such as paper cup coated with Polybutylene succinate (PBS), has been increasing, and has been decompose through landfill process within 6 months. While there were some study exploring the decomposition of styrofoam and other plastics by mealworm, Tenebrio molitor, there is no study on the composition of composite paper cup coated with PBS by mealworm. Therefore, this study aims to compare the decomposition of paper cup coated with PBS between 4 treatments of control, landfill process, mealworm fed diets of paper glass coated PBS plastic and fed diets of paper glass coated PBS plastic plus bran in 3 repeats for 2 months (8 weeks). The landfill process treatment caused highest weight loss at 22.62% and highest degradation rate was 0.0334, and this treatment is 10 times faster than control and 5-6 times faster than the other treatments. The possible explanation is that microorganisms in soil have ability to degrade paper cup coated with PBS at better rate and efficiency than mealworm. Therefore, the examining of soil microorganisms aids in the decomposition of paper cup coated with PBS should be further explored.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectขยะ -- การย่อยสลายทางชีวภาพen_US
dc.subjectการฝังกลบขยะen_US
dc.subjectRefuse and refuse disposal -- Biodegradation-
dc.subjectSanitary landfill closures-
dc.titleอัตราการย่อยสลายของแก้วกระดาษเคลือบพลาสติกชนิด Polybutylene succinate (PBS) โดยใช้หนอนนก Tenebrio molitor และกระบวนการฝังกลบตามธรรมชาติen_US
dc.title.alternativeBiodegradation of paper glass coated Polybutylene succinate (PBS) by mealworm Tenebrio molitor and landfill processen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62-SP-BIO-021 - Pongpanote Saruang.pdf787.58 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.