Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78918
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จันทร์เพ็ญ จันทร์เจ้า | - |
dc.contributor.advisor | จันทร์เพ็ญ จันทร์เจ้า | - |
dc.contributor.author | พชร บุญรัตน์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-06-23T02:50:32Z | - |
dc.date.available | 2022-06-23T02:50:32Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78918 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 | en_US |
dc.description.abstract | มะเร็งหลังโพรงจมูก (nasopharyngeal carcinoma: NPC) เป็นสาเหตุหลักของ การตายด้วยโรคมะเร็งในประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยผู้ป่วยที่มีการกลับมาของ โรคและได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสีควบคู่กับการทำเคมีบำบัดมีอัตราการรอดชีวิตใน ระยะเวลา 5 ปี เพียง 20% ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการพัฒนาวิธีรักษามะเร็งหลัง โพรงจมูกที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อไวรัสเอปสไตน-บาร- (Epstein-Barr virus, EBV) รูปแบบใหม่ เซลล์มะเร็งมีการแสดงออกของแอนติเจนของไวรัสบนผิวเซลล์ 2 ชนิด ได้แก่ latent membrane protein 1 (LMP1) และ latent membrane protein 2 (LMP2) ทั้งนี้ LMP2 มีการแสดงออกบนผิวเซลล์มากกว่า LMP1 โดยมีการแสดงออกในผู้ป่วยถึง 50-90% ในขณะ ที่ LMP1 มีการแสดงออกเพียง 0-35% ผู้วิจัยจึงพัฒนา chimeric antigen receptor T cell (CAR T cell) ที่จำเพาะต่อ LMP2 ด้วยระบบ sleeping beauty (SB) transposon ซึ่ง สามารถตัดต่อทีเซลล์ให้แสดงออก LMP2-specific CAR T cell อย่างถาวรและสามารถเพิ่ม จำนวนในหลอดทดลองด้วย autologous lymphoblastoid cell line (LCL) โดยพบว่า CAR T cell อยู่ในระยะ central memory และ effector memory นอกจากนี้ LMP2- specific CAR T cell สามารถกำจัดเซลล์มะเร็งได้อย่างมีประสิทธิภาพในหลอดทดลอง จากผลการทดลองดังกล่าวแสดงถึงความสามารถของ LMP2-specific CAR T cell ในการกำจัด เซลล์มะเร็งที่สามารถนำไปต่อยอดในการทดลองในสิ่งมีชีวิต | en_US |
dc.description.abstractalternative | Nasopharyngeal carcinoma (NPC) is relatively common in Southeast Asia. Despite treatment with surgery, chemotherapy and radiation, the average 5-year overall survival rate is only about 20%. This implies that there must be an alternative treatment for Epstein-Barr (EBV) virus-associated NPC. The malignant cells express 2 types of viral surface antigen: latent membrane protein 1 (LMP1) and latent membrane protein 2 (LMP2). LMP2 was detected in 50-90% of NPC samples whereas LMP1 was expressed in only about 0-35% of NPC samples. In this report, we develop LMP2-specific chimeric antigen receptor (CAR) T cells using sleeping beauty (SB) transposon. LMP2-specific CAR T cells were successfully generated and expanded ex vivo with autologous lymphoblastoid cell lines (LCLs). The CAR T cells displayed a combination phenotype of central memory and effector memory T cell populations. In addition, LMP2-specific CAR T cells mediated potent cytotoxicity against tumor cells expressing LMP2 in vitro. These findings strongly support the feasibility of this therapeutic strategy. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ไวรัสเอพสไตน์บาร์ | en_US |
dc.subject | เซลล์มะเร็ง -- การเจริญเติบโต -- การควบคุม | en_US |
dc.subject | ทีเซลล์ | en_US |
dc.subject | Epstein-Barr virus | en_US |
dc.subject | Cancer cells -- Growth -- Regulation | en_US |
dc.subject | T cells | en_US |
dc.title | การพัฒนาทีเซลล-ที่มีตัวรับลูกผสมที่จำเพาะ latent membrane protein 2 ของ ไวรัสเอปสไตน-บาร-และทดสอบประสิทธิภาพในหลอดทดลอง | en_US |
dc.title.alternative | Development and in vitro efficacy testing of latent membrane protein 2-specific chimeric antigen | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
62-SP-BIO-022 - Potchara Boonrat.pdf | 982.65 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.