Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78982
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สีหนาท ประสงค์สุข | - |
dc.contributor.advisor | รัชนีกร ธรรมโชติ | - |
dc.contributor.author | จิรภัทร ลาภมหาประเสริฐ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-06-27T02:09:07Z | - |
dc.date.available | 2022-06-27T02:09:07Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78982 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563 | en_US |
dc.description.abstract | บัวหลวง (Nelumbo nucifera Gaertn.) มีสารเมตาบอไลท์ทุติยภูมิที่มีประโยชน์ และสารสกัดหยาบซึ่งสกัดด้วยน้ำจากใบบัวหลวงยังมีฤทธิ์ในการต้านมะเร็งเมื่อทดสอบในเซลล์มะเร็งเต้านม นอกจากนี้มีรายงานว่าใบบัวเผื่อน (Nymphaea nouchali Burm.f.) มีสารเมตาบอไลท์ทุติยภูมิที่มีประโยชน์ เช่น สารฟีนอลิกแอลคาลอยด์ และแทนนิน ซึ่งอาจมีคุณสมบัติในการต้านมะเร็งเช่นเดียวกัน งานวิจัยนี้จึงมุ่งที่จะศึกษาฤทธิ์การยับยั้งมะเร็งของสารสกัดหยาบจากใบบัวหลวงและใบบัวเผื่อนในเซลล์มะเร็งปากมดลูก ซึ่งเป็นมะเร็งที่พบได้มากในสตรีเป็นอันดับที่สี่ของโลก โดยใช้เซลล์มะเร็งปากมดลูกชนิด SiHa และ C33a ซึ่งอาจมีคุณสมบัติในการต้านมะเร็งเช่นเดียวกัน ผลการศึกษาพบว่า ร้อยละผลได้ของสารสกัดหยาบจากใบบัวหลวงและใบบัวเผื่อนต่อน้ำหนักแห้งคิดเป็น 6.50% และ 13.25% ตามลำดับ ปริมาณสารฟีนอลิกในสารสกัดหยาบจากใบบัวหลวงและใบบัวเผื่อนคิดเป็น 112.26±14.60 และ 19.41±6.29 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลำดับ ซึ่งมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% และค่าความเข้มข้นครึ่งหนึ่งของสารสกัดหยาบจากใบบัวหลวงและใบบัวเผื่อนที่ทำให้เซลล์ตายของเซลล์ SiHa เท่ากับ 0.39 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตรและ 6.31 มิลลิกรัม ต่อมิลลิลิตรตามลำดับ ส่วนค่าความเข้มข้นครึ่งหนึ่งที่ทำให้เซลล์ตายของสารสกัดหยาบจากใบบัวเผื่อนที่ทดสอบกับเซลล์ C33a มีค่าเท่ากับ 1.19 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ซึ่งมีค่าดีกว่าที่เคยมีการทดลองไว้ในเซลล์มะเร็งเต้านมยกเว้นในการทดสอบสารสกัดหยาบจากใบบัวเผื่อนกับเซลล์ SiHa และไม่มีความสัมพันธ์ทางสถิติระหวางความเข้มข้นของสารสกัดหยาบจากใบบัวหลวงกับการมีชีวิตของเซลล์ ผลการทดสอบนี้แสดงให้เห็นว่าสารสกัดหยาบทั้งสองชนิดอาจสามารถถูกนำไปพัฒนาเพื่อเป็นการรักษาทางเลือกในการรักษามะเร็งปากมดลูกต่อไปได้ | en_US |
dc.description.abstractalternative | Sacred Lotus (Nelumbo nucifera Gaertn.) contains beneficial secondary metabolites and crude extract from Lotus leaves also has anti-cancer activity on breast cancer cells. Additionally, there are some researches indicate that Waterlily (Nymphaea nouchali Burm. f.), also contains many secondary metabolites including phenolic compounds alkaloids and tannins, which may has anti-cancer activity too. This research focuses on studying anti-cancer activity of crude extract of Lotus and Waterlily leaves on cervical cancer, the fourth most found cancer cases in woman, using SiHa and C33a cervical cancer cell. The results showed that percent yield of crude extract of Lotus and Waterlily leaves was 6.50% and 13.25% respactively. Phenolic compound in crude extract of Lotus and Waterlily was 112.26±14.60 mg/g and 19.41±6.29 mg/g respectively which were significantly different at the statistical level of 0.05. LC₅₀ Value of Lotus and Waterlily crude extracts on SiHa were 0.39 mg/ml and 6.31 mg/ml respectively and on C33a were 1.19 mg/ml for Waterlily crude extract which is better than the test on breast cancer cells except in the experiment which Waterlily crude extract where tested in SiHa cell and there is no statistical relationship between Lotus crude extract and C33a cell viability. The results from this research revealed that crude extracts of both plants leaves can be further developed as alternative treatment for cervical cancer in the future. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | บัวหลวง | en_US |
dc.subject | สารสกัดจากพืช | en_US |
dc.subject | ยารักษามะเร็ง | en_US |
dc.subject | เซลล์มะเร็ง -- การเจริญเติบโต -- การควบคุม | en_US |
dc.subject | Nelumbo nucifera | en_US |
dc.subject | Antineoplastic agents | en_US |
dc.subject | Plant extracts | en_US |
dc.subject | Cancer cells -- Growth -- Regulation | en_US |
dc.title | ผลของสารสกัดหยาบจากใบบัวหลวงและใบบัวเผื่อนต่อการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งปากมดลูก | en_US |
dc.title.alternative | Effect of crude extract from Sacred Lotus (Nelumbo nucifera Gaertn.) and Waterlily (Nymphaea nouchali Burm. f.) leaves on growth of cervical cancer cells | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63-SP-BOT-001 - Jirapat Larpmaha.pdf | 916.67 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.