Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79055
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorChokchai Yachusri-
dc.contributor.authorSutinee Kaewprakaidet-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Science-
dc.date.accessioned2022-06-30T09:26:05Z-
dc.date.available2022-06-30T09:26:05Z-
dc.date.issued2019-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79055-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562en_US
dc.description.abstractUrbanization and transport development are the causes of noise pollution problem in present that adversely affects both human and animal health. The method to control these problems is using acoustic absorbing materials. Especially, local natural materials or agricultural wastes that green and sustainable. This study presented the efficiency of acoustic absorption board from banana pseudo-stem with different thickness; 0.5 cm, 1 cm, and 2 cm at constant density of 0.151 g/m³ and different density; 0.15 g/m³, and 0.357 g/m³ at constant thickness of 0.5 cm. The measurement of sound absorption coefficient (α) was conducted using a standing wave tube method according to ASTM C384-04. The result shown, the thickness of 2 cm of acoustic absorption board achieved highest value 0.81 ± 0.02 of NRC and 0.83± 0.15 of sound absorption coefficient, which shown it obtained best acoustical performance. The thickness of 0.5 cm with different density obtained equally value of NRC, also sound absorption coefficient. Thus, different density not influence to sound absorption coefficient and NRC. When the thickness of acoustic absorption board increase, sound absorption coefficient and NRC will also increase.en_US
dc.description.abstractalternativeการพัฒนาเมืองและคมนาคมเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหามลภาวะทางเสียงในปัจจุบันซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพทั้งมนุษย์และสัตว์ วิธีที่จะช่วยควบคุมปัญหาเหล่านี้ได้ก็คือการใช้วัสดุดูดซับเสียงโดยเฉพาะอย่างยิ่งวัสดุธรรมชาติที่มาจากท้องถิ่นหรือของเสียจากเกษตรกรรม ซึ่งเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีความยั่งยืน การศึกษาในครั้งนี้ได้นำเสนอถึงประสิทธิภาพของวัสดุดูดกลืนเสียงจากลำต้นกล้วยที่มีความหนาแตกต่างกัน คือ 0.5 เซนติเมตร, 1 เซนติเมตร, และ 2 เซนติเมตร โดยมีความหนาแน่นคงที่เท่ากับ 0.151 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร และที่ความหนาแน่นแตกต่างกัน คือ 0.151 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร และ 0.357 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร โดยมีความหนาคงที่เท่ากับ 0.5 เซนติเมตร ค่าสัมประสิทธิ์การดูดกลืนเสียงสามารถวัดได้โดยใช้วิธีท่อคลื่นนิ่ง ตามมาตรฐาน ASTM C384-04 จากผลการศึกษา พบว่า วัสดุดูดซับเสียงจากต้นกล้วยที่ความหนา 2 เซนติเมตร มีค่าสัมประสิทธิ์การลดเสียงสูงสุด เท่ากับ 0.81 ± 0.02 และค่าสัมประสิทธิ์การดูดกลืนเสียงสูงสุดเท่ากับ 0.83± 0.15 ซึ่งแสดงถึงความสามารถในการดูดซับเสียงที่ดี วัสดุดูดซับเสียงจากต้นกล้วยที่ความหนา 0.5 เซนติเมตร โดยมีความหนาแน่นแตกต่างกัน พบว่า สัมประสิทธิ์การลดเสียงและสัมประสิทธิ์การดูดกลืนเสียงมีค่าเท่า ๆ กัน โดยสรุปได้ว่าความหนาแน่นที่แตกต่างกันไม่ส่งผลต่อสัมประสิทธิ์การลดเสียงและสัมประสิทธิ์การดูกลืนเสียง เมื่อความหนาของวัสดุดูดซับเสียงเพิ่มขึ้น สัมประสิทธิ์การลดเสียงและสัมประสิทธิ์การดูดกลืนen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectAbsorption of sounden_US
dc.subjectBananasen_US
dc.subjectการดูดซับเสียงen_US
dc.subjectกล้วยen_US
dc.titleEfficiency of acoustic absorption board from banana pseudo-stemen_US
dc.title.alternativeประสิทธิภาพของวัสดุดูดกลืนเสียงจากลำต้นกล้วยen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62-SP-ENVI-021 - Sutinee Kaewprakaidet.pdf3.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.