Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8005
Title: Synthesis and characterization of manganese-iron oxide composites for adsorption of transition metal ions
Other Titles: การสังเคราะห์และพิสูจน์เอกลักษณ์ของสารคอมโพสิตแมงกานีส-เหล็กออกไซด์ เพื่อใช้ในการดูดซับไอออนของโลหะแทรนซิชัน
Authors: Khwannapa Kongsanoa
Advisors: Nipaka Sukpirom
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Advisor's Email: nipaka@sc.chula.ac.th
Subjects: Transition metal ions
Adsorption
Manganese
Iron oxides
Issue Date: 2005
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The composites of iron oxide and managanese oxide are synthesized using various approaches, in order to improve the heavy metal capacities and filtration quality of iron oxide. The exfoliation-precipitation approach is successful to produce the composites with highly distribution of Fe and Mn over the composites as observed by SEM-EDX, and high BET specific surface area. This approach utilizes two steps (1) the exfoliation of preformed birnessite (layered managanese oxide) using tetrabutylammonium hydroxide solution, and consequently (2) the precipitation with Fe-polycation in basic solution. The composites are comprised of the nanocyrstallites of birnessite and goethite, indicating by XRD and FT-ir. The adsorption capacities towards copper and lead ions are much (10-35%) higher than the physical mixtures of pure goethite and birnessite. The filtration qualities of all composites are also improved, comparing to that of pure goethite. The clear filtrate is found using the composite with 80 wt% Fe to total metal as an adsorbent.
Other Abstract: คอมโพสิตของเหล็กออกไซด์และแมงกานีสออกไซด์เตรียมได้ด้วยวิธีต่างๆ ทั้งนี้เพื่อปรับปรุงความสามารถในการดูดซับโลหะหนักและการกรองแยกของตัวดูดซับของเหล็กออกไซด์ วิธีหนึ่งที่ประสบความสำเร็จในการเตรียมคอมโพสิตที่มีการกระจายตัวของอะตอมเหล็กและแมงกานีสทั่วคอมโพสิตโดยสังเกตจากภาพถ่าย SEM-EDX รวมทั้งยังมีพื้นที่ผิว BET สูง คือวิธีกระจายโครงสร้างและตกตะกอน วิธีนี้ประกอบไปด้วย 2 ขั้นตอน คือ (1) การกระจายโครงสร้างของเบอร์เนสไซท์ (แมงกานีสออกไซด์ที่มีโครงสร้างเป็นชั้น) ด้วยสารละลายเททระบิวทิลแอมโมเนียมไฮดรอกไซด์และตามด้วย (2) การตกตะกอนร่วมกับพอลิแคทไอออนของเหล็กในสารละลายเบส ตรวจสอบคอมโพสิตที่ได้ด้วยเทคนิค XRD และ FT-IR พบว่าประกอบด้วยอนุภาคที่มีความเป็นผลึกขนาดนาโนเมตรของเบอร์เนสไซท์และเกอไทต์ ความสามารถในการดูดซับไอออนของทองแดงและไอออนของตะกั่วของคอมโพสิตที่ได้นี้ดีกว่าความสามารถในการดูดซับไอออนดังกล่าวของของผสมของเบอร์เนสไซท์และเกอไทต์มากถึง 10-35% ความสามารถในการกรองแยกคอมโพสิตเหล่านี้ออกจากสารละลายโลหะหนักง่ายกว่าการกรองแยกเกอไทต์ การกรองแยกจะให้สารละลายใสเมื่อตัวดูดซับคือคอมโพสิตที่มีปริมาณเหล็ก 80 % โดยน้ำหนักของโลหะรวม
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2005
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Chemistry
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8005
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1605
ISBN: 9741758537
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2005.1605
Type: Thesis
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
khwannapa.pdf1.9 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.