Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80298
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิมลมาศ ศรีจำเริญ-
dc.contributor.authorวัชรพล แก้วเปรมกุศล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-07-2305:37:06Z-
dc.date.available2022-07-23T05:37:06Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80298-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (รป.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564-
dc.description.abstractงานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของการดำเนินโครงการพัฒนาระบบการพิสูจน์และยืนยันตัวตนทางดิจิทัล กรมการปกครอง (DOPA - Digital ID)  ตลอดจนแนวทางการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรคของการดำเนินโครงการ โดยเป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ รวบรวมข้อมูลโดยใช้เครื่องมือสัมภาษณ์เชิงลึกด้วยคำถามแบบกึ่งโครงสร้างในการเก็บข้อมูล จากบุคลากรของหน่วยงานภาครัฐที่เข้าร่วมโครงการ ได้แก่ สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) สำนักงานพัฒนาธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการและทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีการวิเคราะห์เชิงเนื้อหาพรรณนาบรรยายข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า โครงการพัฒนาระบบการพิสูจน์และยืนยันตัวตนทางดิจิทัล กรมการปกครอง (DOPA - Digital ID)  ก่อให้เกิดประสิทธิภาพการบริการภาครัฐ ทั้งในด้านการลดขั้นตอนการให้บริการ การประหยัดทรัพยากร การลดค่าใช้จ่าย และการเพิ่มผลิตภาพ การบริการภาครัฐ อย่างไรก็ตาม การที่กรมการปกครอง ยังไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณจากภาครัฐ การประชาสัมพันธ์โครงการที่อาจจะยังไม่ทั่วถึงและเพียงพอสะท้อนจากจำนวนผู้ลงทะเบียนใช้งานดิจิทัลไอดี  ตลอดจนการขาดความรู้ความเข้าใจด้านการใช้งานดิจิทัลไอดีของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน เป็นปัญหาอุปสรรคสำคัญที่จำเป็นต้องดำเนินการแก้ไขอย่างเร่งด่วนเพื่อให้การดำเนินโครงการ ในระยะต่อไปประสบผลสำเร็จ-
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study the efficiency of the Digital Identity of the Department of Provincial Administration (DOPA - Digital ID), the framework, problems and obstacles of the implementation. This qualitative study collected data by using in-depth interviews with the semi-structured questionnaire for gathering information from related public agencies such as The Bureau of Registration Administration of Department of Provincial Administration, Digital Government Development Agency (Public Organization), Electronic Transactions Development Agency, National Health Security Office, and Office of the Public Sector Development Commission. Content analysis was used for analysis and explanation. The results showed that Digital Identity of the Department of Provincial Administration (DOPA - Digital ID) offered efficiency of digital government services in terms of workflow improvement, resource-saving, cost-cutting, and productivity boost. However, lack of budget, insufficient awareness-raising reflected from the registered, and the lack of understanding on Digital ID are the relevant obstacles and challenges to actively address for long-term success.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2021.407-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.titleการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล กรณีศึกษา โครงการพัฒนาระบบการพิสูจน์และยืนยันตัวตนทางดิจิทัล กรมการปกครอง (DOPA - Digital ID)-
dc.title.alternativeDigital government service :a case study of Digital Identity of Department Of Provincial Administration(DOPA - Digital ID)-
dc.typeIndependent Study-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineรัฐประศาสนศาสตร์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2021.407-
Appears in Collections:Pol - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6282047224.pdf3.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.