Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80365
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศุภกรณ์ ดิษฐพันธุ์-
dc.contributor.authorศรัณยพงศ์ ธรรมขจัดภัยกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-07-23T05:43:28Z-
dc.date.available2022-07-23T05:43:28Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80365-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (ศป.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564-
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องการออกแบบเรขศิลป์สำหรับการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติของกลุ่มผู้ขับขี่มอเตอร์ไซค์ : กรณีศึกษาอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน มีวัตถุประสงค์เพื่อหากลยุทธ์และแนวทางการออกแบบเรขศิลป์เพื่อการนำเสนอข้อมูลให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และเป็นกรณีศึกษาสำหรับนำไปต่อยอดและนำไปปรับใช้สำหรับการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในกลุ่มเป้าหมายอื่น ๆ ต่อไป โดยได้ผลการวิจัยดังนี้ 1. โมบายแอพพลิเคชันเป็นสื่อที่สามารถให้ข้อมูลการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และสถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ อย่างครบถ้วน พร้อมกับสามารถเชื่อมต่อกับแพลทฟอร์มออนไลน์อื่น ๆ ได้อย่างสะดวกและง่ายดายจึงเป็นสื่อหลักสำหรับโครงการนี้ นอกจากนี้ยังสามารถใช้สื่อรองอื่น ๆ ประกอบได้อีก เช่น เว็บไซต์ ของที่ระลึก ฯลฯ 2. แนวทางการสื่อสารที่เหมาะกับกลุ่มเป้าหมายได้แก่การให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์โดยใช้ Key message “The Thrill of Ecotourism” ในการสื่อสาร ซึ่งกำหนดบุคลิกภาพของของสารที่ต้องการสื่อโดยใช้การผสมผสานของบุคลิกภาพสองแบบ คือ “Outlaw และ Explorer”  3. แนวทางการออกแบบเรขศิลป์เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายได้แก่การใช้การออกแบบ UI ที่ดูทันสมัยและกำลังอยู่ในเทรนด์ โดยการเลือกใช้สีที่สบายตา ลดความแหลมคมขององค์ประกอบกราฟฟิกต่าง ๆ ด้วยการใช้วงกลมและเส้นโค้ง และใช้ฟอนต์ที่อ่านง่าย เป็นต้น และในด้านของ UX ต้องออกแบบและจัดวางอย่างเหมาะสม มีฟังก์ชันการทำงานครบถ้วน ปรับแต่งได้ และใช้องค์ประกอบเท่าที่จำเป็น เป็นต้น-
dc.description.abstractalternativeThe objective of research on Graphic Design for Ecotourism of Motorcyclists Group: Case Study of Kaeng Krachan National Park is to identify strategies and guidelines for graphic design to give visual information that suit the target audiences, and can be further developed and applied for other Ecotourism target groups. The results of the research are as follows: 1. Mobile application is the primary medium for this project because it can provide comprehensive information on ecotourism, along with being able to connect easily and conveniently to other online platforms. In addition, other secondary media can also be used, such as websites, souvenirs, etc. 2. A communication approach for the target audience is to educate more about ecotourism by using the key message “The thrill of ecotourism”, which defines a combination of two types of personalities. The messages to be communicated are “Outlaw and Explorer”.  3. Use UI and UX design that is modern and trending, the choice of colors combination that comfortable for human eyes, beautiful illustrations, using circles and curves to reduce the sharpness of graphic elements, use fonts that are easy to read, properly designed to be fully functional, customizable, and use minimal elements as needed.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2021.300-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationArts and Humanities-
dc.titleการออกแบบเรขศิลป์สำหรับการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติของกลุ่มผู้ขับขี่มอเตอร์ไซค์ : กรณีศึกษาอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน-
dc.title.alternativeGraphic design for ecotourism of motorcyclists group: case study of Kaeng Krachan national park-
dc.typeIndependent Study-
dc.degree.nameศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineนฤมิตศิลป์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2021.300-
Appears in Collections:Fine Arts - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6380030135.pdf11.56 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.