Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80401
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอลิศรา แสงวิรุณ สุจริต-
dc.contributor.authorสุดาพร คูสุวรรณ์-
dc.contributor.authorศิหรรษา สามศรีทอง-
dc.contributor.authorอรนงค์ คำมอญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-08-15T02:59:42Z-
dc.date.available2022-08-15T02:59:42Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80401-
dc.descriptionโครงการปริญญานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรเภสัชศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2564en_US
dc.description.abstractยาวาร์ฟาริน เป็นยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน มีข้อบ่งใช้สำหรับป้องกันและรักษาภาวะ ลิ่มเลือดอุดตัน ยาวาร์ฟารินเป็นยาที่มีการใช้ทางคลินิกมาอย่างยาวนาน และมีข้อมูลการศึกษาค่อนข้างมาก แต่ยัง ไม่มีคำแนะนำขนาดยาวาร์ฟารินเริ่มต้นในประชากรไทย งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาปัจจัยที่สัมพันธ์กับ ขนาดยาวาร์ฟารินเริ่มต้นของผู้ป่วย และประเมินความแม่นยำของสมการที่ใช้คำนวณขนาดยาเริ่มต้น งานวิจัยเชิง พรรณนาแบบย้อนหลังเพื่อหาความสัมพันธ์ ทำการเก็บข้อมูล ณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โดยรวบรวมข้อมูลของ ผู้ป่วยใน ชาวไทยที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป และได้รับยาวาร์ฟารินเป็นครั้งแรก ระหว่างเดือนมกราคม 2558 ถึง ธันวาคม 2563 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีวิเคราะห์การถถอยพหุเชิงเส้น ในการหาความสัมพันธ์ ด้วยโปรแกรม SPSS version 28 ผู้ป่วยในงานวิจัยทั้งหมด 125 คน เป็นเพศชายจำนวน 70 ราย (ร้อยละ 56) มีน้ำหนักเฉลี่ย 64.0 + 13.1 กิโลกรัม อายุเฉลี่ย 61.3 + 14.79 ปี ข้อบ่งใช้ส่วนใหญ่ของยาวาร์ฟาริน คือ การผ่าตัดซ่อมแชมหรือเปลี่ยนลิ้นหัวใจ ขนาดยาในช่วงเริ่มต้นเฉลี่ย 16.89 + 6.46 มิลลิกรัมต่อสัปดาห์ ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับขนาด ยาวาร์ฟาริน ณ วันที่ผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล ได้แก่ น้ำหนัก ภาวะอัลบูมินในเลือดต่ำ ค่าการทำงานของตับ (AST) อายุที่มากกว่า 70 ปี คำฮีมาโทคริต และการมีช้อบ่งใช้สำหรับการผ่าตัดซ่อมแชมหรือเปลี่ยนลิ้นหัวใจ ในส่วนของ การวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างขนาดยาวาร์ฟารินที่ผู้ป่วยได้รับก่อนออกจากโรงพยาบาลกับขนาดยาที่คำนวณ ได้จากสมการ simplified warfarin dosing formula ที่ใช้ปัจจัยด้านอายุและน้ำหนัก พบว่ามีความสัมพันธ์กันน้อย (r=0.429, p=0.003) เมื่อเปรียบเทียบกับขนาดยาที่คำนวณได้จากสมการการถถอยพหุเชิงเส้นที่สร้างขึ้นโดยใช้ค่า น้ำหนัก ค่เอนไซม์ตับ (ALT) การผ่าตัดซ่อมแชมหรือเปลี่ยนลิ้นหัวใจ และอายุมากกว่า 70 ปี พบว่าค่าที่ได้จาก สมการที่สร้างขึ้นนี้ มีความสัมพันธ์ปานกลางถึงสูงกับขนาดยาวาร์ฟาริน ณ วันที่ออกจากโรงพยาบาล (1=0.738, โดยสรุป ปัจจัยที่สัมพันธ์กับขนาดยาวาร์ฟารินเริ่มต้นของผู้ป่วย ได้แก่ น้ำหนัก คำาการทำงานของตับ อายุ และข้อบ่งใช้กรณีผู้ป่วยผ่าตัดซ่อมแซมหรือเปลี่ยนลิ้นหัวใจ ซึ่งสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการแนะนำขนาดยาใน ผู้ป่วยที่เริ่มได้รับยาวาร์ฟารินเป็นครั้งแรกได้ อย่างไรก็ตาม หลังจากที่ผู้ป่วยเริ่มใช้ยาวาร์ฟาริน ควรมีการติดตามค่า ไอเอ็นอาร์ และปรับขนาดยาให้อยู่ในช่วงเป้าหมายของการรักษาต่อไปen_US
dc.description.abstractalternativeWarfarin is an oral anticoagulant that is indicated to prevent and treat thromboembolic events. Warfarin has been used clinically for a long time. There are a lot of research studies but there is no recommended warfarin starting dose in Thai population. This study aimed to determine factors associated with the initial dose of warfarin in patients and to evaluate the accuracy of simplified warfarin dosing formula. The retrospective descriptive correlational study was conducted at King Chulalongkorn Memorial Hospital. Thai inpatients aged 18 years and over who received warfarin for the first time between January 2015 and December 2020 were enrolled in this study. Data were analyzed by using multiple linear regression analysis to define the correlation with SPSS version 28. A total of 125 patients were enrolled; 70 were male (56%); average weight was 64.0 + 13.1 ks, average age was 61.3 + 14.79 years. The most indication of warfarin were heart valve repair or replacement. Average warfarin initial dose was 16.89 t 6.46 mg/week. The result showed that factors related to the warfarin dose on the discharge date were weight, hypoalbuminemia, liver function (AST), age over 70 years, hematocrit, and an indication of heart valve repair or replacement. As for correlation analysis between the warfarin dose on hospital discharge date and the warfarin dose calculated from the simplified warfarin dosing formula using age and weight demonstrated a weak correlation (r=0.429, p=0.003). When compared to the dose calculated from the multiple linear regression equation generated using weight, liver function (ALT), an indication of heart valve repair or replacement, and over 70 years of age, the values obtained from this equation were moderate to strong correlation with the dose of warfarin on the discharge date (r=0.738, p<0.001). In conclusion, factors associated with the initial dose of warfarin were weight, liver function, age, and an indication of heart valve repair or replacement. This can be applied as a dose recommendation in patients who are starting warfarin for the first time. However, after the patient has started warfarin, the INR should be monitored, and the dose should be adjusted to the target range of treatment.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectวาร์ฟารินen_US
dc.subjectwarfarinen_US
dc.titleปัจจัยที่สัมพันธ์กับขนาดยาวาร์ฟารินเริ่มต้นของผู้ป่วย ณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์en_US
dc.title.alternativeFactors associated with initial warfarin dose in patients at King Chulalongkorn Memorial Hospitalen_US
dc.typeSenior Projecten_US
Appears in Collections:Pharm - Senior projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pharm_SeniorProject_1.12_2564.pdfไฟล์โครงงานทางวิชาการฉบับเต็ม5.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.