Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80460
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกิติวัฒน์ คำวัน-
dc.contributor.authorศักนัน พงศ์พันธุ์ผู้ภักดี-
dc.contributor.authorธีระพล สลีวงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-09-07T03:35:58Z-
dc.date.available2022-09-07T03:35:58Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80460-
dc.description.abstractโรคลมชักเป็นโรคทางระบบประสาทที่เกิดจากความผิดปกติของกระแสไฟฟ้าในสมอง ซึ่งอาจก่อให้เกิดปัญหาต่อครอบครัวและสังคมรวมถึงการดำเนินชีวิตประจำวัน เนื่องจากเมื่อผู้ป่วยมีอาการชัก ร่างกายเกร็งกระตุกไม่สามารถควบคุมร่างกายได้ภายใต้อำนาจจิตใจได้ ปัจจุบันมีวิธีวินิจฉัยและรักษาโรคลมชักโดยแพทย์จะทำการตรวจภาพสมองด้วยสเปกเพื่อพิจารณาจุดกำเนิดชัก ซึ่งผู้ป่วยจะได้รับการฉีดสารเภสัชรังสี 99mTc-ECD เพื่อให้สาร 99mTc-ECD ดูดซึมในสมองและสามารถถ่ายภาพสเปกเพื่อพิจารณาจุดกำเนิดชักได้ ในการศึกษาวิจัยนี้จึงได้ทำการพัฒนาแบบจำลองเภสัชจลนศาสตร์ของการดูดซึมสาร 99mTc-ECD ในสมองตามช่วงการดูดซึมของผู้ป่วยโรคลมชัก โดยทำการเก็บข้อมูลของผู้ป่วยโรคลมชักจากภาพถ่ายการตรวจภาพสมองด้วยสเปก 99mTc-ECD จำนวน 15 ราย จากนั้นทำการปรับค่าพารามิเตอร์ของแบบจำลองจลนศาสตร์และใช้ระเบียบเชิงตัวเลขในการหาคำตอบของแบบจำลอง เพื่อเปรียบเทียบกับข้อมูลภาพถ่ายสเปคและพิจารณาค่าคลาดเคลื่อนสัมพัทธ์ ทำให้ได้ค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสมของผู้ป่วยโรคลมชัก จากผลการวิจัยพบว่าเนื้อสมองของผู้ป่วยโรคลมชักมีปริมาณการจับสาร 99mTc-ECD เฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 38.5884 MBq ทำให้ค่าพารามิเตอร์ที่สำคัญทำให้ค่าพารามิเตอร์เฉลี่ยของแบบจำลองจลนศาสตร์การดูดซึมสาร 99mTc-ECD ในสมองตามช่วงเวลาการดูดซึมของผู้ป่วยโรคลมชักดังนี้ kinject = 0.089±0.0555, K₁ = 0.25±0.0732, k₂= 0.24±0.0229, k₃ = 0.53±0.0254, k₄= 0 และ kout= 0.00688±0.0055 ซึ่งค่าพารามิเตอร์เหล่านี้สามารถอธิบายจลนศาสตร์การดูดซึมสาร 99mTc-ECD ในสมองของผู้ป่วยโรคลมชักได้ และยังเป็นแนวในการศึกษาพัฒนาเพื่อให้แพทย์สามารถระบุจุดกำเนิดชักได้แม่นยำมากยิ่งขึ้นen_US
dc.description.abstractalternativeEpilepsy is a neurological disorder caused by electrical abnormalities in brain, causing seizures or unusual behavior. The powerful functional imaging tool as Single Photon Emission Computed Tomography (SPECT) has dramatically changed the approach for epilepsy evaluation. In this study, we developed a kinetic model of 99mTc-ECD absorption in brain, depending on the acquiring time of patients with epilepsy. Fifthteen retrospective epilepsy patient data underwent 99mTc-ECD SPECT imaging at Division of Nuclear Medicine, King Chulalongkorn Memorial Hospital were collected, then adjusted for kinetic parameters and numerical methods were used to find the solution of the kinetic model to compare data from SPECT imaging, specifications, and relative error to get the appropriate parameters for patients with epilepsy. The epileptic patients had absorption around 27.9084 MBq/ml. From SPECT imaging, the essential parameter of 99mTc-ECD absorption model are kinject = 0.089±0.0555, K₁ = 0.25±0.0732, k₂ = 0.24±0.0229, k₃ = 0.53±0.0254, k₄= 0 and kout = 0.00688±0.0055. We have concluded that these parameters could describe the kinetics of 99mTc-ECD absorption in the brains of epileptic patients. It is also a developmental paradigm in which physicians can pinpoint the origin of the seizure more precisely.en_US
dc.description.sponsorshipได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ประจำปี 2561en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectลมบ้าหมู -- การวินิจฉัยen_US
dc.subjectการถ่ายภาพทางการแพทย์en_US
dc.titleแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของภาพถ่ายสเปคสำหรับการประเมินโรคลมชักen_US
dc.title.alternativeIntegration of mathematical model in SPECT imaging for epilepsy evaluationen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
Appears in Collections:Med - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Med_Kitiwat Kham_2561.pdf2.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.