Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80557
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPantana Tor-ngern-
dc.contributor.authorRatchanon Ampornpitak-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Science-
dc.date.accessioned2022-09-30T09:31:11Z-
dc.date.available2022-09-30T09:31:11Z-
dc.date.issued2020-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80557-
dc.descriptionIn Partial Fulfillment for the Degree of Bachelor of Science Department of Environmental Science, Faculty of Science, Chulalongkorn University Academic Year 2020en_US
dc.description.abstractOngoing urbanization are increasing in several urban area. The increased urbanization of towns mostly involves concrete buildings, resulting in less green space. Consequently, recent attempts to expand green areas in cities have invaded areas in buildings, such as a roof garden. However, when watering plants on a roof garden, one needs to consider the loading capacity of the roof. This may limit water supply to the plants. To improve the efficiency in irrigation of trees in a roof garden, we evaluated the water status of a tree (Tabebuia argentea, Ta) and a palm (Ptychosperma macarthurii, Pm) species, which are commonly grown in cities, growing in the same roof garden. Midday leaf water potential (ΨMD) and stomatal conductance (gs) were measured to investigate the pattern of tree hydraulic responses of Ta and Pm. The result showed that, Ta had a significance response of gs to ΨMD. Stomata in Ta decreased with increasing leaf water potential, especially under moist condition. This may be explained by the inherent behavior of Tabebuia trees which dislike high soil water. Excessive soil water restricts the root absorption of water leading to decreasing leaf water potential and stomatal conductance. In contrast, Pm had no response of gs to ΨMD. This result implies that Ta should be appropriately watered because excessive watering could reduce ecosystem services by Ta. However, Pm can maintain plant water status and gs regardless of changes in soil moisture. For the response of Ta and Pm to environmental conditions, gs in Ta was more sensitive to change in leaf-to-air vapor pressure deficit (LAVPD) than Pm growing under the same site and environmental conditions. Based on these results, Pm is less sensitive to environmental changes than Ta. Hence, we suggest that Ta should not be irrigated to flood condition occurred while Pm may be watered less frequently to save water. This initial investigation implied that maintaining urban trees using appropriate irrigation that is specific to tree species is the key to maximize benefits from urban trees and optimize urban water use. For this particular roof garden, the result from this study can be applied to adjust irrigation schedule for the tree (Tabebuia argentea) and the palm (Ptychosperma macarthurii).en_US
dc.description.abstractalternativeในปัจจุบันมีการขยายตัวเมืองอย่างต่อเนื่องในหลายพื้นที่ การขยายตัวของเมืองที่เพิ่มขึ้นส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการ สร้างอาคารคอนกรีตส่งผลทำให้มีพื้นที่สีเขียวในเมืองน้อยลง ดังนั้น จึงมีความพยายามที่จะสร้างพื้นที่สีเขียวในเมืองในพื้นที่ ของอาคารต่าง ๆ เช่น สวนลอยฟ้า อย่างไรก็ตามการดูแลสวนลอยฟ้านั้น จะต้องคำนึงถึงการรดน้ำต้นไม้ โดยจะต้องพิจารณา ถึงความสามารถในการรับน้ำหนักของอาคารด้วย ข้อจำกัดในการรดน้ำนี้ส่งผลให้ต้นไม้ที่ปลูกในสวนลอยฟ้าอาจจะถูกจำกัด ปริมาณน้ำที่ใช้ในการเจริญเติบโต เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพในการให้น้ำของต้นไม้ในสวนบนลอยฟ้า โครงงานนี้จึงประเมิน สถานะน้ำของต้นไม้ชนิดพันธุ์ Tabebuia argentea (Ta) และต้นปาล์มชนิดพันธุ์ Ptychosperma macarthurii (Pm) ที่ เจริญเติบโตในพื้นที่สวนลอยฟ้าเดียวกัน โดยวัดศักย์ของน้ำในใบช่วงกลางวัน (ΨMD) และค่าการชักนำปากใบ (gs) เพื่อศึกษา รูปแบบการตอบสนองทางไฮดรอลิกของต้นไม้ชนิดพันธุ์ Ta และต้นปาล์มชนิดพันธุ์ Pm จากผลการศึกษาพบว่า gs ของต้นไม้ ชนิดพันธุ์ Ta มีค่าลดลงเมื่อ ΨMD สูงขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งภายใต้สภาวะดินที่ชื้น อาจจะเนื่องมากจากพฤติกรรมโดย ธรรมชาติของต้น Tabebuia ที่ไม่ชอบความชื้นในดินสูง นอกจากนี้ น้ำในดินที่มากเกินไปจะไปจำกัดการดูดซึมน้ำของรากซึ่ง ส่งผลให้ ΨMD และ gs ลดลง ในทางตรงกันข้ามต้นปาล์มชนิดพันธุ์ Pm ไม่มีการตอบสนองของ gs ต่อ ΨMD จากผลการศึกษา นี้แสดงให้เห็นว่าต้นไม้ชนิดพันธุ์ Ta ควรที่จะได้รับการรดน้ำอย่างเหมาะสมเนื่องจากการรดน้ำที่มากเกินไปอาจทำให้การ บริการเชิงนิเวศของต้นไม้ชนิดพันธุ์ Ta แย่ลง อย่างไรก็ตามต้นปาล์มชนิดพันธุ์ Pm สามารถรักษาสถานะของน้ำและ gs ได้โดย ไม่คำนึงถึงการเปลี่ยนแปลงของความชื้นในดิน สำหรับการตอบสนองของต้นไม้ชนิดพันธุ์ Ta และต้นปาล์มชนิดพันธุ์ Pm ต่อ ความชื้นในอากาศ พบว่า gs ในต้นไม้ชนิดพันธุ์ Ta มีความไวต่อการเปลี่ยนแปลงของความแตกต่างของไอน้ำระหว่างใบและ อากาศ (LAVPD) มากกว่าต้นปาล์มชนิดพันธุ์ Pm ที่เติบโตภายในพื้นที่และสภาพแวดล้อมเดียวกัน ผลการศึกษานี้บ่งชี้ว่าต้น ปาล์มชนิดพันธุ์ Pm มีความไวต่อการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมน้อยกว่าต้นไม้ชนิดพันธุ์ Ta จากผลที่ได้จากโครงงานนี้ จึง แนะนำว่า การดูแลรักษาต้นไม้โดยการให้น้ำในปริมาณที่เหมาะสมอย่างจำเพราะกับชนิดพันธุ์ไม้ในเมืองเป็นกุญแจสำคัญใน การเพิ่มผลประโยชน์ให้กับระบบนิเวศสีเขียวในเมืองและเพิ่มประสิทธิภาพของการใช้น้ำในเมือง สำหรับสวนลอยฟ้าแห่งนี้ ผู้ดูแลสามารถประยุกต์ใช้ผลจากการศึกษานี้เพื่อปรับตารางการให้น้ำสำหรับต้นไม้ (Tabebuia argentea) และต้นปาล์ม (Ptychosperma macarthurii)en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectPalmsen_US
dc.subjectPlant-water relationshipsen_US
dc.subjectปาล์มen_US
dc.subjectความสัมพันธ์ระหว่างพืชกับน้ำen_US
dc.titleInvestigating water relations in a tree (Tabebuia argentea) and a palm (Ptychosperma macarthurii) species in the dry season at a tropical roof gardenen_US
dc.title.alternativeการศึกษาความสัมพันธ์น้ำของต้นไม้ชนิดพันธุ์ Tabebuia argentea และต้นปาล์มชนิดพันธุ์ Ptychosperma macarthurii ในฤดูแล้งบนสวนลอยฟ้าเขตร้อนen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63-SP-ENVI-012 - Ratchanon Ampornpitak.pdf20.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.