Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80726
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาโนช โลหเตปานนท์-
dc.contributor.authorพศิน ศิริเขตต์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2022-11-02T00:45:09Z-
dc.date.available2022-11-02T00:45:09Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80726-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (วท.ม.)—จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เสนอต้นแบบทางคณิตศาสตร์ สำหรับเป็นแนวทางในการจัดสรรรถขนส่งน้ำมัน เชื้อเพลิงไปยังสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงในจังหวัดเชียงใหม่ทั้งหมด 3 สถานี โดยมีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อลดต้นทุนโดยรวมโลจิสติกส์ ซึ่งก็คือ ค่าขนส่ง โดยทำให้มีค่าใช้จ่ายในการขนส่งน้อยที่สุด แต่ก็จะต้องตอบสนองต่อความต้องการที่เพียงพอของผู้บริโภคในแต่ละสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง ในงานวิจัยนี้ เลือกวิธีการการขนส่ง 2 วิธี คือ รถบรรทุกของทางสถานี (รถบรรทุกขนาด 18,000 ลิตร และรถบรรทุกขนาด 16,000 ลิตร) และรถบรรทุกของคลังน้ำมัน (รถบรรทุกขนาด 20,000 ลิตร) งานวิจัยนี้จะนำมาประยุกต์ใช้กับแบบจำลองเชิงเส้น (Linear Program) โดยแบ่งข้อมูลปริมาณความต้องการน้ำมันของผู้บริโภคและปริมาณการสั่งซื้อน้ำมันเป็นสองส่วน ส่วนแรกจะนำไปหาปริมาณการสั่งซื้อน้ำมันต่อวัน และส่วนที่สองจะนำไปจัดสรรรถเติมน้ำมัน รวมถึงทดสอบนโยบายใหม่ ผลจากตัวแบบพบว่านโยบายใหม่ทำให้มีค่าใช้จ่ายในการขนส่งลดลงถึงร้อยละ 22.60 จากการสั่งซื้อแบบเดิม ซึ่งมีค่าใช้จ่ายในการขนส่งอยู่ที่ 879,225 บาท คงเหลือค่าใช้จ่ายในการ ขนส่งรวมเป็น 680,520 บาทen_US
dc.description.abstractalternativeThe research represents mathematical model for fuel replenishment truck allocation to three petroleum stations in Chiang Mai. The objective is to minimize the total cost which is transportation cost. In addition, it also needs to satisfy demand of each station. We consider two transportations, the station’s trucks which loaded 18,000 liter and 16,000 liter and fuel depot’s trucks that loaded 20,000 liter. The Linear Program is applied to determine the suitable transportation form with the right quantity of fuel each day. There are two factors which are quantity of demand and quantity of buying. The data were divided to two sections. First, we find out the quantity of fuel order per day. Second, we allocate the truck and solve problems from new model. The results showed that the new model reduced the total cost up to 22.60% from 879,225 baht to 680,520 baht.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2021.242-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการบริหารงานโลจิสติกส์en_US
dc.subjectน้ำมันเชื้อเพลิง -- การขนส่งen_US
dc.subjectBusiness logisticsen_US
dc.titleการจัดสรรรถขนส่งน้ำมันเชื้อเพลิง : กรณีศึกษา บริษัทน้ำมันขนาดเล็กในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeFuel replenishment truck allocationcase study: Small Petroleum Company in Chiang Maien_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการจัดการด้านโลจิสติกส์ (สหสาขาวิชา)en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2021.242-
Appears in Collections:Grad - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6380053620_Phasin Sirikhet_IS_2564.pdf3.86 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.