Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81390
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | รังสิมา เหรียญตระกูล | - |
dc.contributor.author | กรมิษฐ์ ศุภพิพัฒน์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-12-13T10:08:03Z | - |
dc.date.available | 2022-12-13T10:08:03Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81390 | - |
dc.description.abstract | มะเร็งรังไข่เป็นมะเร็งที่มีอัตราตายสูงที่สุดในกลุ่มมะเร็งทางนรีเวชวิทยา ผู้ป่วยมะเร็งรังไข่ที่มีโรคกลับเป็นซ้ำหรือไม่ตอบสนองต่อการรักษามาตรฐานมีทางเลือกในการรักษาอื่นๆค่อนข้างจำกัดมาก มีการวิจัยโดยการรักษาด้วยการเพิ่มจำนวนเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดลิมฟอยด์ที่รุกรานเข้าไปในก้อนมะเร็งสำหรับการรักษาแบบเซลล์บำบัดในโรคมะเร็งรังไข่ อย่างไรก็ดีการเพิ่มจำนวนเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดลิมฟอยด์ที่รุกรานเข้าไปในก้อนมะเร็งด้วยวิธีมาตรฐานมักได้จำนวนเซลล์ไม่เพียงพอต่อการใช้ทางคลินิก ในการวิจัยนี้ทางผู้วิจัยทำการเปรียบเทียบการเพิ่มจำนวนเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดลิมฟอยด์ที่รุกรานเข้าไปในก้อนมะเร็งระหว่างวิธีมาตรฐานและวิธี mitogen stimulation โดยการเปรียบเทียบจำนวนเซลล์ อัตราการเพิ่มจำนวนเซลล์ ชนิดของเซลล์ภูมิคุ้มกัน และ ปฏิกริยาต่อเซลล์มะเร็ง จากการทดลองพบว่าการเพิ่มจำนวด้วยวิธี mitogen stimulation นั้นมีจำนวนเซลล์และอัตราการเพิ่มจำนวนเซลล์มากกว่าอย่างมีนัยสำคัญ วิธีการเพิ่มจำนวนมีผลต่อชนิดของเซลล์ภูมิคุ้มกันที่อยู่ใน เซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดลิมฟอยด์ที่รุกรานเข้าไปในก้อนมะเร็ง อย่างไรก็ดีเมื่อเปรียบเทียบปกิกริยาต่อเซลล์มะเร็งนั้น เซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดลิมฟอยด์ที่รุกรานเข้าไปในก้อนมะเร็งที่ถูกเพิ่มจำนวนด้วยวิธี mitogen stimulation นั้นมีปกิกริยาต่อเซลล์มะเร็งลดลงเมื่อเทียบกับการเพิ่มจำนวนด้วยวิธีมาตรฐาน การเพิ่มจำนวนด้วยวิธี mitogen stimulation มีประสิทธิภาพสูงในการเพิ่มจำนวนเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดลิมฟอยด์ที่รุกรานเข้าไปในก้อนมะเร็ง การนำการเพิ่มจำนวนวิธีนี้ไปใช้ทางคลินิกยังคงต้องการการวิจัยเพิ่มเติม | en_US |
dc.description.abstractalternative | Ovarian cancer is one of the most lethal gynecologic malignancy. Patients with relapsed and refractory ovarian cancer have very limited option of treatment. Adoptive therapy with tumor infiltrate lymphocytes (TILs) has been explored as a potential therapy for relapsed and refractory ovarian cancer but standard method for TILs expansion is suboptimal for clinical application in solid tumor. In this study, we evaluated expansion of TILs between standard method and mitogen stimulation method. We compared cell number, fold expansion, cell subset and tumor reactivity. Mitogen stimulation method exhibited better cell numbers and fold expansion compared to standard method. Cell subsets were different with less percentage of natural killer cell when using mitogen stimulation method. Moreover, tumor reactivity is less in TILs expanded with mitogen stimulation method comparing with TILs expanded with standard method. Mitogen stimulation method can improve expansion of TILs in term of increase cell number and fold expansion. Clinical application of mitogen stimulation TILs needed to be explored. | en_US |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ประจำปี 2561 | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | เม็ดเลือดขาว | en_US |
dc.subject | ลิมโฟไซต์ | en_US |
dc.subject | รังไข่ -- มะเร็ง | en_US |
dc.title | การศึกษาการกระตุ้นและเพิ่มจำนวนเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดลิมฟอยด์ที่รุกรานเข้าไปในก้อนมะเร็งด้วยวิธี mitogen stimulation เพื่อใช้ในการรักษาด้วยการให้เซลล์บำบัดในโรคมะเร็งรังไข่ | en_US |
dc.title.alternative | Activation and expansion of tumor infiltrating lymphocyte using mitogen stimulation for adoptive cellular therapy in ovarian cancer | en_US |
dc.type | Technical Report | en_US |
Appears in Collections: | Med - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Med_Rangsima Rean_2019.pdf | รายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Fulltext) | 591.85 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.