Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81399
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกรเกียรติ วงศ์ไพศาลสิน-
dc.contributor.authorทิฆัมพร สถิรแพทย์-
dc.contributor.authorปุณยภัทร สุขวุฒิยา-
dc.contributor.authorฮัสนีย์ โนะ-
dc.contributor.authorรัชติพรรณ ปิติวรารมย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-12-14T10:16:53Z-
dc.date.available2022-12-14T10:16:53Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81399-
dc.description.abstractการตรวจดีเอ็นเอทางนิติพันธุศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีการตรวจสารพันธุกรรมรุ่นใหม่ เริ่มมีการนำมาใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยที่การตรวจนั้นประกอบด้วยตำแหน่งของดีเอ็นเอทางนิติพันธุศาสตร์หลากหลายชนิด เช่น autosomal STRs, X and Y chromosome STRs, identity SNPs, phenotypic SNPs และ ancestry SNPs เป็นต้น การบริหารจัดการข้อมูลดังกล่าวนับว่าเป็นเรื่องสำคัญ มีการใช้ระบบฐานข้อมูลดีเอ็นเอเพื่อการจัดเก็บ และวิเคราะห์ค่าทางสถิติต่าง ๆ ที่สำคัญทางนิติวิทยาศาสตร์แต่อย่างไรก็ตามฐานข้อมูลดีเอ็นเอนั้นจะได้รับผลกระทบหากข้อมูลดีเอ็นเอที่นำมาใช้ในการสร้างฐานข้อมูลนั้นคุณภาพไม่ดีพอ ดังนั้น การคัดกรองเชิงคุณภาพของดีเอ็นเอจึงเป็นขั้นตอนสำคัญในการสร้างฐานข้อมูล วัตถุประสงค์ของการศึกษาชิ้นนี้เพื่อการสร้างฐานข้อมูลดีเอ็นเอทางนิติพันธุศาสตร์ที่มีคุณภาพของข้อมูลสูงอีกทั้งประกอบด้วยเครื่องมือในการวิเคราะห์ค่าทางสถิติที่สำคัญต่างๆทางนิติพันธุศาสตร์ และพันธุศาสตร์ประชากร การศึกษาเริ่มต้นจากผลการตรวจดีเอ็นเอกว่า 500 ตัวอย่าง ภายหลังจากการคัดกรองด้านคุณภาพของผลการตรวจด้วยค่าต่างๆแล้วนั้น ผลของดีเอ็นเอจำนวน 244 ตัวอย่าง ถูกนำมาใช้ในการสร้างฐานข้อมูล ทีผู้วิจัยได้นำเสนอฐานข้อมูลในรูปแบบของเวปไซท์ และเชื้อเชิญผู้สนใจส่งข้อมูลเข้าร่วมในการสร้างฐานข้อมูล เพื่อทำให้ฐานข้อมูลนั้นขยายขนาดเพื่อประโยชน์ในกลุ่มผู้ใช้งานอย่างสูงสุดen_US
dc.description.abstractalternativeThe forensic DNA applied to next-generation sequencing technology has wildly used in forensic research. This technology provides a huge forensic genetic information which includes autosomal STRs, X and Y chromosome STRs, identity SNPs, phenotypic SNPs and ancestry SNPs. To manage this information, the DNA database was introduced for both gathering and analyzing genetic data. The DNA database was affected by the quality and quantity of DNA results thus the quality screening was an important step. The objective of this study is to establish a high-quality DNA database that incorporates significant forensic parameters and population statistics. The first design was constructed with more than 500 DNA profiles. Using the quality index to filter each profile, there were 244 DNA profiles to generate the database. We introduced a forensic community with an open-access DNA database and invited colleagues to share for the rapid growth of the DNA database.en_US
dc.description.sponsorshipได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช ปีงบประมาณ 2561, สัญญาเลขที่ CU-GR(S)_61_37_30_02en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectพันธุศาสตร์ -- ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศen_US
dc.subjectดีเอ็นเอen_US
dc.titleการสร้างฐานข้อมูลพันธุศาสตร์ประชากรไทยในตำแหน่งดีเอ็นเอทางนิติพันธุศาสตร์ ด้วยเทคโนโลยีการตรวจลำดับสารพันธุกรรมรุ่นใหม่ : รายงานการวิจัย เรื่องen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
Appears in Collections:Med - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kornkiat Vong_Res_2018.pdfรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Fulltext)39.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.