Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81695
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชิตพงษ์ ตรีมาศ-
dc.contributor.authorเกวลี พุกป้อม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2023-02-03T04:34:38Z-
dc.date.available2023-02-03T04:34:38Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81695-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2565-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาคุณภาพเนื้อเสียงไวโอลิน ด้วยวิธีการเลียนแบบ สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การวิเคราะห์เอกสารและการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญการสอนปฏิบัติไวโอลิน 3 คน โดยใช้แบบสัมภาษณ์ และการเก็บข้อมูลเสียงไวโอลิน ผลการวิจัยพบว่า แนวทางการพัฒนาคุณภาพเนื้อเสียงไวโอลิน ด้วยวิธีการเลียนแบบ สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา แบ่งได้ 3 ขั้น ได้แก่ 1) เทคนิคการเล่นไวโอลิน ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญของการสร้างคุณภาพเสียงที่ดี 2) การเรียนการสอนด้วยวิธีการเลียนแบบ ผ่านการฟังและเลียนแบบครูผู้สอน 3) คุณภาพเสียงไวโอลิน ผ่านโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถมองเห็นลักษณะของเสียง หากผู้เรียนสามารถปฏิบัติตามทั้ง 3 ขั้นจะสามารถผลิตเสียงไวโอลินที่มีคุณภาพ โดยมีครูผู้สอนเป็นผู้ควบคุมตลอดการเรียนการสอน เพื่อสังเกตและให้คำแนะนำแก่ผู้เรียน-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to provide guidelines for improving violin tone quality for secondary school students through imitation. The qualitative research methodology has been used along with document analysis and interviews. Three violin teaching professionals who are key informants were interviewed via a structured interview form, and their violin sound qualities were analyzed by recordings. The result reveals that the guidelines can be separated into three stages: 1) Violin technique, the foundation of good sound quality. 2) Learning through imitation, consists of listening to and imitating the teacher. 3) The audio analysis software, which visualizes the quality of the sounds for students. The high violin tone quality of the sounds could be produced by achieving all three of the mentioned stages. Throughout the lesson, the teacher is responsible for supervising, monitoring, and advising the students.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2022.561-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationSocial Sciences-
dc.titleแนวทางการพัฒนาคุณภาพเนื้อเสียงไวโอลินด้วยวิธีการเลียนแบบสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา-
dc.title.alternativeGuideline for violin tone-quality development using learning through modeling for high-school students-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineดนตรีศึกษา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2022.561-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6183307127.pdf4.56 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.