Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81854
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อภิชญา ไชยวุฒิกรณ์วานิช | - |
dc.contributor.author | ภรัณยู โรจนสโรช | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา | - |
dc.date.accessioned | 2023-02-03T05:15:49Z | - |
dc.date.available | 2023-02-03T05:15:49Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81854 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2565 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาการชี้นำการอ้างอิงแหล่งควบคุมในบุคคลที่มีลักษณะการอ้างอิงแหล่งควบคุมที่แตกต่างกันเพื่อลดพฤติกรรมการอู้งานในการทำงานเป็นกลุ่ม กลุ่มตัวอย่างคือ นิสิตปริญญาตรีอายุ 18 – 24 ปี จำนวน 171 คน การศึกษานี้เป็นการศึกษาแบบ Factorial 2X2 (ลักษณะการอ้างอิงแหล่งควบคุม X การชี้นำการอ้างอิงแหล่งควบคุมภายใน) ในลักษณะของการศึกษาแบบกึ่งการทดลองผ่านออนไลน์ โดยมีพฤติกรรมการอู้งานเป็นตัวแปรตาม งานวิจัยมีการเก็บข้อมูลแบ่งเป็นสองช่วงตอนการศึกษา โดยช่วงตอนแรกจะเป็นการทำแบบสอบถามผ่าน Google Form เป็นมาตรวัดลักษณะการอ้างอิงแหล่งควบคุม (เพื่อแบ่งกลุ่มผู้เข้าร่วมการวิจัยออกเป็นกลุ่มที่มีลักษณะการอ้างอิงแหล่งควบคุมภายใน และภายนอก) จากนั้นจะมีการนัดหมายผู้เข้าร่วมการวิจัยมาเข้าร่วมในช่วงตอนที่สองผ่าน Zoom Meeting เพื่อสุ่มเข้าเงื่อนไขจัดกระทำเงื่อนไขใดเงื่อนไขหนึ่ง (เงื่อนไขชี้นำการอ้างอิงแหล่งควบคุมภายใน หรือเงื่อนไขควบคุม) จากนั้นทำการวัดพฤติกรรมการอู้งานโดยให้ผู้เข้าร่วมทำงานระดมความคิดออนไลน์ เมื่อเสร็จสิ้นแล้วผู้วิจัยทำการอธิบายจุดประสงค์ที่แท้จริงให้แก่ผู้เข้าร่วมการวิจัยฟัง ผลการวิจัยพบว่า ลักษณะการอ้างอิงแหล่งควบคุมและการชี้นำการอ้างอิงแหล่งควบคุมไม่มีปฏิสัมพันธ์กันต่อพฤติกรรมการอู้งาน อีกทั้ง 2 ตัวแปรดังกล่าวยังไม่มีอิทธิพลหลักต่อพฤติกรรมการอู้งานอย่างมีระดับนัยสำคัญ อย่างไรก็ตามผู้วิจัยกลับพบว่าตัวแปรเพศมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการอู้งานในงานวิจัยนี้ เนื่องจากผู้เข้าร่วมการวิจัยเพศชายมีแนวโมที่จะมีแรงจูงใจในการทำงานระดมความคิดออนไลน์ (คิดการใช้งานของมีด) มากกว่าเพศหญิง เป็นข้อค้นพบว่าตัวแปรเพศนั้นสามารถมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการอู้งานได้เช่นกัน หากงานดังกล่าวเป็นประเภทงานที่ผู้ชายกับผู้หญิงมีแรงจูงใจในการทำต่างกัน อย่างไรก็ตาม งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาแบบกึ่งการทดลองในลักษณะทำผ่านออนไลน์ อาจทำให้มีข้อจำกัด จึงต้องการการศึกษาต่อยอดในอนาคตต่อไป | - |
dc.description.abstractalternative | This research aimed to study the influence of priming locus of control on social loafing behavior in work group, in different trait-of-locus-of-control targets. The samples were 171 students, age 18 – 24 years. The research was studied as quasi – experimental, factorial 2X2 design (trait locus of control X priming locus of control), which dependent variable was social loafing behavior. The process was split into two sessions. In first session, participants were constructed to answer the questionnaire in Google form, locus of control scale, to classified participant into one of traits of locus of control (either internal locus of control or external locus of control). Then, participants were arranged an appointment to participate in last session via Zoom Meeting. In last session, participants were randomly assigned (before the session started) into one of conditions (either priming internal locus of control, or control condition). Participants were constructed to do priming task (or control task), and then, completed the online brainstorming task, to assess social loafing behavior. Lastly, participants were debriefed and the session ended. The study reveals that trait of locus of control and priming locus of control do not have interaction effect on social loafing behavior. Besides, each of them do not have any main effect on social loafing behavior. However, we found that, in this study, gender seems to have influence on social loafing behavior because, males are more motivated to do the online brainstorming task, which construction is to list the way to use knife as many as participants can think of as possible, than females. This result suggests that gender variable can affect social loafing behavior, on condition that men and women are differently motivated to do the kind of work. Nevertheless, this quasi-experimental research was held through online setting, which might be different from onsite environment from where participants attend the face-to-face session. The relationship between locus of control (both trait and priming) and social loafing have yet to be fully studied, though. We expected this study would be of use to future research. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2022.552 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject.classification | Psychology | - |
dc.title | การชี้นำการอ้างอิงแหล่งควบคุมในบุคคลที่มีลักษณะการอ้างอิงแหล่งควบคุมที่แตกต่างกันเพื่อลดพฤติกรรมการอู้งานในกลุ่ม | - |
dc.title.alternative | Priming locus of control in different traits of locus of control to reduce social loafing behavior in work group | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | จิตวิทยา | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2022.552 | - |
Appears in Collections: | Psy - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6370047038.pdf | 4.98 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.