Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81990
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | มนันยา สายชู | - |
dc.contributor.author | ผัสสพรรณ ถนอมพงษ์ชาติ | - |
dc.contributor.author | จุไรรัตน์ สุดรุ่ง | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2023-03-28T07:20:06Z | - |
dc.date.available | 2023-03-28T07:20:06Z | - |
dc.date.issued | 2566-04 | - |
dc.identifier.citation | วารสารศึกษาศาสตร์สาร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 6,1 (เม.ย. - มิ.ย. 2565) หน้า 87-101 | en_US |
dc.identifier.issn | 2586-825X | - |
dc.identifier.uri | https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81990 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อวิเคราะห์การออกแบบหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในประเทศไทย ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ วิทยานิพนธ์เกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาในประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ.2552 จนถึง พ.ศ.2562 จำนวน 240 เรื่อง โดยการวิเคราะห์เนื้อหาเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ด้วยแบบวิเคราะห์การออกแบบหลักสูตร สถิติที่ใช้ คือ การแจกแจงความถี่และการหาค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า 1) ปรัชญาการศึกษาที่ใช้ในการออกแบบหลักสูตรมากที่สุด คือ ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม 2) แนวคิดที่ใช้ในการออกแบบหลักสูตรมากที่สุด คือ แนวคิดที่ยึดกิจกรรมและปัญหาของสังคม ท้องถิ่นหรือชุมชน 3) รูปแบบหลักสูตรที่ใช้ในการออกแบบหลักสูตรมากที่สุด คือ หลักสูตรเพื่อชีวิตและสังคม 4) จุดมุ่งหมายของหลักสูตรในด้านเนื้อหาที่มีการออกแบบมากที่สุด คือ จุดมุ่งหมายด้านอาชีพ ขณะที่จุดมุ่งหมายด้านพฤติกรรมการเรียนรู้ที่ใช้ในการออกแบบมากที่สุด คือ จุดมุ่งหมายด้านพุทธิพิสัย 5) เนื้อหาที่มีการออกแบบในหลักสูตรมากที่สุด คือ เนื้อหาวิชาเฉพาะทางหรืออาชีพ 6) กิจกรรมการเรียนรู้ที่นำมาออกแบบหลักสูตรมากที่สุด คือ กิจกรรมการเรียนรู้โดยให้ผู้เรียนปฏิบัติจริง 7) การวัดประเมินผลโดยใช้การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์เป็นวิธีการการวัดและประเมินผลที่มีการออกแบบในหลักสูตรมากที่สุด ขณะที่การประเมินผล ตามสภาพจริง ที่มีการออกแบบในหลักสูตรมากที่สุด คือ การสังเกตพฤติกรรม | en_US |
dc.description.abstractalternative | The current research endeavor aimed to analyze the basic school curriculum design in Thailand. The research population consisted of 240 theses on curriculum development in Thailand from the year 2009 to 2019 and the study adopted both qualitative and quantitative content analyses using the curriculum development analysis. The results were statistically calculated using frequency distribution and percentage. The results revealed that First, the philosophy of education that was most commonly adopted was progressivism. Second, the theory that was most popularly used to design a curriculum was the theory that was based on activities and issues in society, locality, and community. Third, the curriculum design that was most frequently used was the social process and life function curriculum. Fourth, most curriculums were designed based on the objective of career functions and on the knowledge-based learning behavior. Fifth, technical and career contents were most adopted in the curriculum design. Sixth, learning by doing activities were most adopted in the curriculum design. Seventh, achievement tests were the most frequently adopted type of assessment in the curriculum design and observing behaviors accounted for most common type of authentic assessment in the curriculum design. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.relation.uri | https://so01.tci-thaijo.org/index.php/cmujedu/article/view/246636 | - |
dc.rights | วารสารศึกษาศาสตร์สาร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การออกแบบหลักสูตร | en_US |
dc.subject | การศึกษา -- หลักสูตร | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์การออกแบบหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจากวิทยานิพนธ์ เกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรในประเทศไทย | en_US |
dc.title.alternative | Ananalysis of basic school curriculum design from theses on curriculum development in Thailand | - |
dc.type | Article | en_US |
Appears in Collections: | Thai Journal Article |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
html_submission_84901.html | บทความวารสารฉบับเต็ม (Fulltext) | 2.83 kB | HTML | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.