Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82085
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุวิดา ลิ่มเริ่มสกุล-
dc.contributor.authorจงจิต เสน่หา-
dc.contributor.authorดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ-
dc.contributor.authorปฏิณัฐ บูรณะทรัพย์ขจร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2023-05-23T07:31:54Z-
dc.date.available2023-05-23T07:31:54Z-
dc.date.issued2565-01-
dc.identifier.citationวารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 40,1 มกราคม-มีนาคม 2565 หน้า 84-98en_US
dc.identifier.issn2651-1959-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82085-
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุเบาหวานชนิดที่ 2รูปแบบการวิจัย:การวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุมวิธีด าเนินการวิจัย:กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป มาตรวจที่คลินิกเบาหวาน แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลตติยภูมิขั้นสูงแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานครฯ จ านวน 60 ราย สุ่มแบ่งเป็น 2 กลุ่ม โดยใช้บล็อกสุ่มด้วยคอมพิวเตอร์ให้มีเพศเหมือนกัน กลุ่มควบคุม 30 รายได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มทดลอง 30รายได้รับโปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพผ่านช่องทางแอปพลิเคชันไลน์เป็นเวลา 6 สัปดาห์ ใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ความรอบรู้ด้านสุขภาพ พฤติกรรมการดูแลตนเองสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน เก็บข้อมูลก่อนและเมื่อสิ้นสุดโปรแกรมฯ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ Wilcoxon signed-rank test และ Mann-Whitney U testผลการวิจัย:ก่อนการทดลอง กลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองมีพฤติกรรมการดูแลตนเองระดับปานกลาง (= 40.37, SD = 4.66;= 40.27, SD = 4.93 ตามลำดับ) หลังการทดลอง กลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองมีพฤติกรรมการดูแลตนเองระดับสูง (= 41.10, SD = 5.25; = 48.14, SD = 5.64 ตามล าดับ) ผลการวิเคราะห์พบว่า กลุ่มทดลองหลังเข้าร่วมโปรแกรมฯ มีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการดูแลตนเองสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมฯ และสูงกว่าของกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< .05)สรุปและข้อเสนอแนะ:ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า โปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพส่งผลต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุเบาหวานชนิดที่ 2 ดังนั้น พยาบาลควรนำโปรแกรมฯ ผ่านช่องทางแอปพลิเคชันไลน์ที่พัฒนาขี้นนี้ไปใช้เพื่อพัฒนาพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุเบาหวานให้ดีขึ้นen_US
dc.description.abstractalternativePurpose:This study aimed to assess the effects of a health literacy development program on self-care behaviors in the elderly with type 2 diabetes mellitus.Design:Randomized controlled trial design. Methods:The sample was composed of sixty patients with type 2 diabetes mellitus aged sixty or older from diabetes clinic outpatient department in a super tertiary hospital in Bangkok.They were randomly assigned into two groups by using computerized random blocks with similar gender.Thirty control group received only usual care and 30 experimental group received a health literacy development program via line application for 6 weeks.The Personal Information Record Form, Health Literacy Questionnaire, and Self-Care Behavior Questionnaire for Diabetes Patients were used to collect the data before and at the end of the program.Data were analyzed by using Wilcoxon signed-rank test and Mann Whitney U test.Main findings:The results of the study found that at pretest, control groupand experimental group had moderate self-care behaviors (= 40.37, SD= 4.66; = 40.27, SD= 4.93, respectively).At posttest, control group and experimental group had high self-care behaviors(= 41.10, SD =5.25; = 48.14, SD = 5.64; respectively). The analysis showed that experimental group had a statistically higher mean score of self-care behaviors of posttest than that of pretest and had a higher mean score of self-care behaviors than that of the control group with statistically significance (p < .05).Conclusion and recommendations:The results of the study revealed that the health literacy development program can affect self-care behaviors of elderly with type 2diabetes mellitus.Therefore, nurses should use the health literacy development program via line application in order to improve self-care behaviors of elderly with type 2diabetes mellitusen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.relation.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/248877-
dc.rightsวารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลินen_US
dc.subjectเบาหวานen_US
dc.titleผลของโปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุเบาหวานชนิดที่ 2*en_US
dc.title.alternativeEffects of a Health Literacy Development Program on Self-care Behaviors in the Elderly with Type 2 Diabetes Mellitusen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.publicationบทความวารสารฉบับเต็ม (Fulltext)en_US
Appears in Collections:Thai Journal Article

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
html_submission_85056.html.htmlบทความวารสารฉบับเต็ม (Fulltext)2.84 kBHTMLView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.