Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82094
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ดวงกมล บางชวด | - |
dc.contributor.author | อุบลวรรณ หงษ์วิทยากร | - |
dc.contributor.author | เฟื่องอรุณ ปรีดีดิลก | - |
dc.contributor.author | พิมพ์พันธุ์ ศรีพิพิธ | - |
dc.contributor.author | สุดา เดชพิทักษ์ศิริกุล | - |
dc.contributor.author | อมร เอี่ยมตาล | - |
dc.contributor.author | ภัทร ยืนยง | - |
dc.contributor.author | ดนัย อู่ทรัพย์ | - |
dc.contributor.author | สมชาย ธรรมใจ | - |
dc.contributor.author | ศิริวัฒน์ จันต๊ะ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2023-05-25T06:08:40Z | - |
dc.date.available | 2023-05-25T06:08:40Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.uri | https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82094 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาวิถีชีวิตในประวัติศาสตร์ท้องถิ่นของอำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ 2) เพื่อวิเคราะห์สภาพ ปัจจัย เงื่อนไขและประโยชน์ที่ได้รับจากการร่วมพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ำน่านและเขื่อนสิริกิติ์จากอดีตถึงปัจจุบัน และ 3) เพื่อนำเสนอสายสัมพันธ์ของชุมชนท่าปลากับเขื่อนสิริกิติ์ที่ส่งผลต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูล โดย สัมภาษณ์เชิงลึกปราชญ์ท้องถิ่นซึ่งแบ่งเป็น 2 กลุ่มคืออายุระหว่าง 60 ปี ที่อยู่ร่วมในสถานการณ์ การก่อสร้างเขื่อนสิริกิติ์ และกลุ่มอายุ 20-60 ปี ที่ได้รับประโยชน์ด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตจากการสร้างเขื่อนสิริกิติ์ การสัมภาษณ์กลุ่มและการสังเกตุแบบไม่มีส่วนร่วมกลุ่มผู้ใช้น้ำลุ่มน้ำน่าน จาก จังหวัดน่าน อุตรดิตถ์ พิษณุโลก พิจิตร และนครสวรรค์ การสัมภาษณ์และสนทนากลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ โดยการวิเคราะห์เนื้อหา และนำเสนอผลการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า จากการสัมภาษณ์ปราชญ์ท้องถิ่น ได้ให้ความสำคัญ 6 กลุ่มเรื่องราวคือ 1) พระมหากรุณาธิคุณของพระบรมวงศ์ 2) เรื่องเล่าและตำนาน 3) ความเชื่อ ความศรัทธาและพิธีกรรม 4) ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ประเพณี และการละเล่น 5) อาชีพเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และ 6) ท่าปลาในความทรงจำ ประโยชน์ที่กลุ่มผู้ใช้น้ำลุ่มน้ำน่านได้รับจากเขื่อนสิริกิติ์คือ แนวทางการบริหารจัดการน้ำและป่าไม้ การสร้างนวัตกรรมต้นแบบการใช้และรักษาน้ำ การสร้างกลุ่มเครือข่าย ศูนย์การเรียนรู้ในและนอกโรงเรียน การพัฒนาการท่องเที่ยว การเกษตรและประมงซึ่งแต่ละจังหวัดได้รับประโยชน์ที่แตกต่างกัน สายสัมพันธ์ของชุมชนท่าปลาและเขื่อนสิริกิติ์ที่ส่งผลต่อการ พัฒนาที่ยั่งยืนมีด้วยกัน 3 ด้านคือ 1) สายสัมพันธ์เครือข่ายบริหารจัดการน้ำ 2) สายสัมพันธ์เครือข่ายด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต และ 3) สายสัมพันธ์เครือข่ายด้านการสร้างจิตสำนึกการพัฒนาตนเอง ผ่านการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น | en_US |
dc.description.abstractalternative | This qualitative study aims to 1) study way of life in the local history of Thapla district, Uttaradit province 2) analyze conditions, factors and benefits of development project between Nan River Basin and Sirikit Dam past to present, and 3) present bonding of Thapla community and Sirikit Dam for sustainable development. The data collection includes in-depth interview of 2 groups of local sage; 60 years old and over who live in the Sirikit Dam constructed period and 20-60 years old who gain better quality of live from Sirikit Dam, group interview and non- participation observation water user group of Nan, Uttaradit, Phitsunulok, Pichit and Nakhon Sawan, interview and focus group of qualified. The data were analyzed using content analysis and the results were presented in descriptive format. The findings show that 6 story collections from the local sages: 1) royal family grace 2) local story and myth 3) believe, faith and ritual 4) history, culture, tradition and game 5) career for better quality of life and 6) Thapla in memory. Benefit of water user group for Sirikit Dam projects: guidelines of water and forest management, water use and retain innovation model, initiate group of water user, formal and nonformal learning center, develop travel activities/programs, agriculture and fishery that differ depend of each area needed. Three bonding between Thapla community and Sirikit Dam; 1 bonding among water management network 2) bonding of development quality of live network and 3) bonding of self-development consciousness network through historical study. | en_US |
dc.description.sponsorship | งานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนโดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย สัญญาเลขที่ 64-F402000-11-IO.SS03F3008576 | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.RES.2022.1 | - |
dc.rights | คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | เชื่อนสิริกิติ์ | en_US |
dc.subject | เขื่อน -- ไทย -- อุตรดิตถ์ | en_US |
dc.title | เขื่อนสิริกิติ์กับอำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ : มิติประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน : รายงานการวิจัย | en_US |
dc.title.alternative | Sirikit Dam and Tha Pla District, Uttaradit province : the perspectives on local history for sustainable development | en_US |
dc.type | Technical Report | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.RES.2022.1 | - |
Appears in Collections: | Edu - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Doungkamol_Ba_Res_2565.pdf | รายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Fulltext) | 15.03 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.