Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82111
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อภิวัฒน์ กุมภิโร | - |
dc.contributor.author | จินตนา สรายุทธพิทักษ์ | - |
dc.contributor.author | สริญญา รอดพิพัฒน์ | - |
dc.contributor.author | จินตนา บรรลือศักดิ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2023-05-29T03:09:16Z | - |
dc.date.available | 2023-05-29T03:09:16Z | - |
dc.date.issued | 2565-01 | - |
dc.identifier.citation | วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ 14,1 (ม.ค.-เม.ย. 2565) หน้า 291 - 302 | en_US |
dc.identifier.issn | 2697 5793 | - |
dc.identifier.uri | https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82111 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ ความตระหนัก และการปฏิบัติในการขับขี่รถจักรยานยนต์ก่อนและหลังการทดลองของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม และเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ ความตระหนัก และการปฏิบัติในการขับขี่รถจักรยานยนต์หลังการทดลองระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม วิธีการด าเนินการวิจัยประชากรเป็นนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนสังกัดคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนชิโนรสวิทยาลัย เป็นอาสามสมัคร จ านวน36 คนแบ่งออกเป็นกลุ่มทดลอง 18 คน และกลุ่มควบคุม 18 คนด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่ายเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ โปรแกรมสร้างเสริมความปลอดภัยในการขับขี่รถจักรยานยนต์โดยการน าทฤษฎีการรับรู้ความสามารถตนเองและทฤษฎีการดูแลตนเองประกอบด้วย 5 กิจกรรม มีค่าดัชนีความสอดคล้อง(IOC)เท่ากับ1.00แบบวัดความรู้ ความตระหนักเป็นแบบข้อค าถามหลายตัวเลือกอย่างละ30 ข้อ และการปฏิบัติเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 30 ข้อมีค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ในช่วง0.6-1.0, 0.8-1.0และ1.00ค่าความเที่ยง(Reliability)0.80, 0.82และ 0.86ตามล าดับระยะเวลาในการวิจัย8 สัปดาห์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยคะแนนด้วยค่าทีภายในกลุ่ม(Dependent t-test) และระหว่างกลุ่ม (Independentt-test)ผลการวิจัย พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ ความตระหนัก หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05ส่วนค่าเฉลี่ยคะแนนการปฏิบัติไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05และ ค่าเฉลี่ยของคะแนนความรู้ ความตระหนัก และการปฏิบัติในการขับขี่รถจักรยานยนต์หลังการทดลองของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | en_US |
dc.description.abstractalternative | Purposes:to compare the mean scores of knowledge, awareness and practice in motorcyclists before and after the experiment withinthe experimental group and the controlgroup,as well as tocompare the mean scores of knowledge, awareness, and practice in motorcycleriding after the experiment between the experimental group and the control group.Methods:The population werelower secondary school studentsstudyingin schools under the Basic Education Commission. The samplesconsisted of 36 lower secondary school studentvolunteers. The samplesweredivided into two groups; 18 experimental and 18 control groupstudents, bysimple random sampling. The instrumentswerethe motorcycle driving safety enhancement program oriented withthe self-efficacy theory and self-care theory.This programconsistedof 5 activities with theconsistency index equal to 1.00.The knowledge and awarenesstests included30 multi-choice questions of eachtest, and the practice test as a rating scaleincluded 30 items.The consistency index ranged from0.6to 1.0, 0.8to 1.0 and 1.00. Reliabilitiyvalues were0.80, 0.82 and 0.86, respectively. The duration of the research was 8 weeks. Datawere analyzed by using mean, standard deviation.Test of the difference of the mean scores were used the Dependent t-test for within the group and theindependent t-testfor betweengroups.The results:showed that the mean scores of knowledge and awareness after the experiment were statistically significant higher than that before the experimentat the level of .05.The mean score of motorcycle riding practice wasnot statistically significantdifferent at the level of .05,and the mean scores of knowledge, awareness, and practice in motorcycle riding after the experiment of the experimental group were higher than that of the controlgroupwith statistical significance at the level of .05. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ | en_US |
dc.relation.uri | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TNSUJournal/article/view/255342 | - |
dc.subject | การขับขี่จักรยานยนต์ | en_US |
dc.subject | ผู้ขับขี่จักรยานยนต์ | en_US |
dc.subject | ความปลอดภัยในท้องถนน | en_US |
dc.subject | ความปลอดภัยในท้องถนนกับเด็ก | en_US |
dc.title | ผลของโปรแกรมสร้างเสริมความปลอดภัยในการขับขี่รถจักรยานยนต์ตามทฤษฎีการรับรู้ความสามารถตนเองร่วมกับทฤษฎีการดูแลตัวเองของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น | en_US |
dc.type | Article | en_US |
Appears in Collections: | Thai Journal Article |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
html_submission_85085.html | บทความวารสารฉบับเต็ม (Fulltext) | 2.79 kB | HTML | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.