Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82116
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | วริพัสย์ เจียมปัญญารัช | - |
dc.contributor.other | สำนักวิชาทรัพยากรการเกษตร. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2023-05-29T06:09:14Z | - |
dc.date.available | 2023-05-29T06:09:14Z | - |
dc.date.issued | 2565-05 | - |
dc.identifier.citation | สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 10,2 (พ.ค. - ส.ค. 2565) หน้า 159-168 | en_US |
dc.identifier.issn | 2630-0451 | - |
dc.identifier.uri | https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82116 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์กระบวนการเรียนรู้และพัฒนาชุมชนโดยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (participatory action research: PAR) ในการวางแผนจัดการวัสดุเหลือใช้จากกิจกรรมการเกษตรให้ถูกวิธีของชุมชนบ้านไร่-เขาดิน อําเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี วิเคราะห์มูลค่าทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของชุมชนโดยกระบวนการ PAR โดยใช้วิธีเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสุ่มเจาะจง เกษตรกรจํานวน 24 ราย ของชุมชนโดยใช้เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง ผลการศึกษาพบว่ากระบวนการ PAR ทําให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.64-17.67 และลดรายจ่ายครัวเรือนร้อยละ 6-10 และลดรายจ่ายในการทํานาร้อยละ 20-30 ต่อรอบการผลิตและค่าฝุ่น PM 2.5 ลดลงร้อยละ 50 หลังจากชุมชนเข้าสู่กระบวนการ PAR ในการเปลี่ยนวัสดุเหลือใช้จากกิจกรรมทางการเกษตรโดยเผาในเตาเผามาตรฐาน และสังเคราะห์เนื้อหาตามประเด็น โดยใช้ SWOT analysis พบว่าเกษตรกรมีจุดแข็งคือชุมชน จุดอ่อน คือ แหล่งเงินทุน โอกาสในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ส่งผลต่อในการผลิตข้าวปลอดภัยของชุมชนกลุ่มผลิตข้าวอินทรีย์ชีวภาพบ้านไร่-เขาดิน อุปสรรคได้แก่การเข้าถึงตลาดแต่มีชุมชนมีความพึงพอใจของกระบวนการ PAR โดยวิธีการ Likert scale พบว่าเกษตรกรมากกว่าครึ่งของกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจระดับมาก แสดงให้เห็นว่าเกษตรกรมีความพึงพอใจที่ได้ต่อการเข้าร่วมกระบวนการและส่งผลให้การพัฒนาของชุมชน | en_US |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were to analyze benefits of community learning and development process for farmers from Ban Rai–Khao Din community, Kaeng Khoi district, Saraburi province by participatory action research (PAR) onagricultural waste management practices. Purposive samples were collected from 24 farmers by usingquestionnaires and structured-interview. Due to PAR agricultural waste management practices, farmers couldreduce 6-10 % of household and 20-30 % of agricultural expenditure, increase 16.64 -17.67 % in revenue, and decrease PM 2.5 value by 50 %. SWOT analysis wasalso used in the present study.The study showed the strength was strong community, weakness was source of investment funds, opportunity was product development and threat was access tomarkets. Furthermore, the community established the Ban Rai–Khao Din bio-organic rice. The results showed more than 50% of samples in the community were satisfiedwithPAR at a high level.This result implied that farmers had satisfaction with participation on PAR process and the PAR processcould continue to be a good development in this community. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | กองบรรณาธิการวารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต เครือข่ายบริหารการวิจัยภาคเหนือตอนบน สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.relation.uri | https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JCDLQ/issue/view/17253 | - |
dc.subject | ความช่วยเหลือทางการเกษตร | en_US |
dc.subject | ความร่วมมือทางการเกษตร | en_US |
dc.subject | สิ่งประดิษฐ์ทางการเกษตร | en_US |
dc.title | วิถีเกษตรแบบมีส่วนร่วม: ชุมชนบ้านไร่-เขาดิน อําเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี | en_US |
dc.title.alternative | Participatory on agriculture: Ban Rai–Khao Din community Kaeng Khoi district, Saraburi province | en_US |
dc.type | Article | en_US |
Appears in Collections: | Thai Journal Article |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
html_submission_85093.html | บทความวารสารฉบับเต็ม (Fulltext) | 2.83 kB | HTML | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.