Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82800
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไชยันต์ ไชยพร-
dc.contributor.advisorวีระ สมบูรณ์-
dc.contributor.authorชาย ไชยชิต-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2023-08-04T06:54:58Z-
dc.date.available2023-08-04T06:54:58Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82800-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561-
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้ศึกษาวิเคราะห์ถึงบทบาทหน้าที่ของศาลรัฐธรรมนูญไทยในช่วงเวลานับแต่ปี 2541 ถึงปี 2557 โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่ออธิบายว่าการจัดตั้งสถาบันทางการเมืองรูปแบบใหม่นี้ขึ้นมาในโครงสร้างระบอบการเมืองของไทย ส่งผลให้กระบวนการทางการเมืองโดยรวมมีลักษณะเปลี่ยนแปลงไปจากในช่วงก่อนหน้านั้นอย่างไร การศึกษาวิเคราะห์รายละเอียดเนื้อหาคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในช่วงเวลาดังกล่าว จำนวน 677 คำวินิจฉัย พบว่า คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญมีผลต่อการใช้อำนาจขององค์กรต่าง ๆ ได้แก่ รัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาลต่าง ๆ รวมถึงองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ศาลรัฐธรรมนูญมีบทบาทในการวินิจฉัยข้อพิพาททางรัฐธรรมนูญหลายลักษณะ ได้แก่ การโต้แย้งปัญหาความชอบด้วยรัฐธรรมนูญแบบนามธรรมในช่วงก่อนและหลังกฎหมายประกาศใช้ การตั้งข้อกังขาเกี่ยวกับปัญหาความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมายที่ใช้พิพากษาคดีในศาล ข้อขัดแย้งเรื่องอำนาจขององค์กรตามรัฐธรรมนูญ การตีความรัฐธรรมนูญ รวมถึงปัญหาความถูกต้องสมบูรณ์ตามเงื่อนไขรัฐธรรมนูญของการดำรงตำแหน่งสาธารณะ การดำเนินกิจการพรรคการเมืองและกระบวนการทางการเมือง การทำหน้าที่ดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าศาลรัฐธรรมนูญมีบทบาทในฐานะสถาบันที่ทำหน้าที่พิทักษ์ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ-
dc.description.abstractalternativeThis dissertation investigates the functions of the Thai Constitutional Court during 1998 – 2014. The main objective is to examine how the addition of this body to the political architecture affected the overall process of the Thai democratic system. A detailed analysis of 677 decisions indicates that Constitutional Court's decisions affect different governmental institutions and constitutional organs: the parliament, the cabinet, the ordinary courts and the constitutional independent organizations. The role of the Constitutional Court is adjudicating various constitutional disputes; namely a priori abstract constitutionality challenge, a posteriori abstract constitutionality challenge, constitutional question, jurisdictional dispute, constitutional interpretation, and integrity of public office, political party and political process. The general conclusion is that the Constitutional Court has been essential to upholding the supremacy of the constitution in Thailand.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.1069-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.titleบทบาทของศาลรัฐธรรมนูญในการเมืองไทย (พ.ศ. 2541-2557)-
dc.title.alternativeThe role of the constitutional court in Thai politics (1998-2014)-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameรัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาเอก-
dc.degree.disciplineรัฐศาสตร์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2018.1069-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5681352124.pdf5.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.