Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83470
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธารทัศน์ โมกขมรรคกุล-
dc.contributor.authorณัฐธมนต์ วงศ์ชัยศรี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2023-08-28T07:40:10Z-
dc.date.available2023-08-28T07:40:10Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83470-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2565en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการศึกษาและพัฒนาเกณฑ์การประเมินผู้รับเหมาช่วงบริการขนส่งที่ ให้บริการโดยบริษัท 3PL โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการวัดผลการปฏิบัติงานของ บริษัทกรณีศึกษาและของผู้รับเหมาช่วงที่ทางบริษัทกรณีศึกษาใช้บริการ โดยวิธีการศึกษาและ วิเคราะห์ที่ใช้มีการเชิงคุณภาพ (Qualitative) และเชิงปริมาณ (Quantitative) โดยการศึกษา ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์ผลข้อมูล การเก็บข้อมูล การสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการ ปฏิบัติงาน การปรับปรุงและทดลองใช้เกณฑ์การประเมินประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน โดย ผลลัพธ์ของการวิจัยนั้นประกอบด้วยการสรุปเกณฑ์การประเมินประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน รูปแบบใหม่ และเทียบกับผลการประเมินประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานรูปแบบเดิม โดยใช้วิธีการ แสดงผลในรูปแบบของตารางและกราฟเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานของการใช้เกณฑ์การประเมิน ในปัจจุบันและแบบปรับปรุงen_US
dc.description.abstractalternativeThis research study aims to develop and improve the evaluation criteria for assessing the performance of transport service subcontractors for a third-party logistics (3PL) service provider company. The study utilizes both qualitative and quantitative research methods, including theoretical studies, data analysis, data collection, and interviews with operation teams who are involved in logistics performance evaluation. The evaluation criteria are tested, adjusted, and experimented with to enhance their effectiveness in assessing the performance of both the transportation company and the service provider. The results of the study present a new set of evaluation criteria and compare them with the previous evaluation criteria using tables and graphs to show the performance differences between the two approaches.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2022.200-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการขนส่งสินค้าen_US
dc.subjectการบริหารงานโลจิสติกส์en_US
dc.subjectCommercial products -- Transportationen_US
dc.subjectBusiness logisticsen_US
dc.titleการพัฒนาเกณฑ์การประเมินผู้รับเหมาช่วงบริการขนส่งen_US
dc.title.alternativeDeveloping criteria in evaluation of transport service subcontractoren_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2022.200-
Appears in Collections:Grad - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6480035420_Natthamon_Wong_2565.pdfสารนิพนธ์3.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.