Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83480
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกมลชนก สุทธิวาทนฤพุฒิ-
dc.contributor.authorธนบัตร ชื่นจิตต์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2023-08-28T08:38:23Z-
dc.date.available2023-08-28T08:38:23Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83480-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2565en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อการคงอยู่ของพนักงาน ขับรถบรรทุกโดยมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้ 2 ประการ ได้แก่ ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการคง อยู่ของพนักงานขับรถบรรทุก และ ศึกษาแนวทางในการรักษาคนขับรถบรรทุกให้คงอยู่ได้อย่าง ยั่งยืน โดยผู้วิจัยได้ทำการรวบรวมปัจจัยและคัดเลือกมาทั้งหมด 7 ปัจจัยได้แก่ ปัจจัยในด้านการ ทำงานของพนักงานขับรถบรรทุก ปัจจัยด้านที่พักอาศัยของพนักงานขับรถบรรทุก ปัจจัยด้าน สภาพแวดล้อมในการทำงานของพนักงานขับรถบรรทุก ปัจจัยด้านรายได้ของพนักงานขับ รถบรรทุก ปัจจัยด้านสุขภาพของพนักงานขับรถบรรทุก ปัจจัยส่วนตัวของพนักงานขับรถบรรทุก และปัจจัยด้านการได้งานใหม่ของพนักงานขับรถบรรทุก โดยทำการวิเคราะห์ข้อมูลจาก แบบสอบถามที่ได้ทำการสอบถามแก่พนักงานขับรถบรรทุกในบริษัทตัวอย่างแห่งหนึ่งและนำผลที่ ได้จากแบบสอบถามมาทำการวิเคราะห์ข้อมูล โดยนำข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามมาประมวลผลใน โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS โดยใช้วิธีเทคนิคการถดถอยโลจิสติกส์ (Logistic Regression Analysis) แบบ Binary Logistic Regression จากการศึกษาผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากตัวแปรต้นทั้งหมด 7 ตัวแปรที่เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการคงอยู่พนักงานขับรถบรรทุก พบว่ามี 4 ตัวแปรต้นที่ส่งผลต่อการ คงอยู่ของพนักงานขับรถบรรทุก ได้แก่ ปัจจัยด้านที่พักอาศัยของพนักงานขับรถบรรทุก ต่อมาคือ ปัจจัยด้านสุขภาพของพนักงานขับรถบรรทุก ปัจจัยด้านรายได้ของพนักงานขับรถบรรทุก และ ปัจจัยด้านการได้งานใหม่ของพนักงานขับรถบรรทุกen_US
dc.description.abstractalternativeThis independent study aims to investigate the factors affecting truck driver's retention. The study has two main objectives: to examine the factors that contribute to the retention of truck drivers and to explore sustainable strategies for driver retention. The researchers collected and selected a total of seven factors, including work-related factors, living conditions, environmental, income, health, personal factors, and opportunities for new employment. Data was analyzed by conducting a survey among truck drivers in a sample company, and the results were processed using the SPSS software specifically binary logistic regression analysis. From the analysis of the data, it was found that out of the seven independent variables, four variables significantly impact the retention of truck drivers. These variables include living conditions, health, income, and opportunities for new employment, in that order.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2022.205-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectคนขับรถบรรทุก -- ความพอใจในการทำงานen_US
dc.subjectการธำรงรักษาพนักงานen_US
dc.subjectTruck drivers -- Job satisfactionen_US
dc.subjectEmployee retentionen_US
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อการคงอยู่ของพนักงานขับรถบรรทุกen_US
dc.title.alternativeFactors affecting truck driver's retentionen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2022.205-
Appears in Collections:Grad - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6480045720_Thanabut_Chun_2565.pdfสารนิพนธ์3.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.