Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83487
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธารทัศน์ โมกขมรรคกุล-
dc.contributor.authorพิชญพิชญ์ นิ่มพยา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2023-08-28T09:54:03Z-
dc.date.available2023-08-28T09:54:03Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83487-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2565en_US
dc.description.abstractสารนิพนธ์ฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาปัจจัยด้านการรับรู้ความเสี่ยงด้านสุขภาพในมาตรการด้านต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจในการเดินทางเพื่อการท่องเที่ยวของผู้โดยสารสายการบินภายในประเทศไทย ภายหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 โดยมีตัวแปรอิสระในมาตรการต่าง ๆ ได้แก่ Active Intervention, Passive Intervention และ Technological Intervention ผ่านแบบสอบถามออนไลน์ โดยมีกลุ่มประชากรตัวอย่างเป็นนักท่องเที่ยวที่เดินทางโดยใช้บริการสายการบินภายในประเทศไทย ในช่วงระหว่างการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 จำนวนทั้งสิ้น 401 คน และนำมาประมวลผลโดยการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงเส้นเดี่ยว (Simple Linear Regression Analysis) โดยมีระดับนัยสำคัญที่ 0.05 จากผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยการรับรู้ความเสี่ยงด้านสุขภาพในมาตรการ Active Intervention และ Passive Intervention ไม่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจในการเดินทางเพื่อการท่องเที่ยว และมาตรการด้าน Technological Intervention ส่งผลต่อความตั้งใจในการเดินทางเพื่อการท่องเที่ยวของผู้โดยสารสายการบินภายในประเทศไทย ภายหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า หากสายการบินมีการนำเอาเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่อำนวยความสะดวกในการเข้ารับบริการมาใช้ เพื่อเป็นการป้องกัน และลดความเสี่ยงในการติดเชื้อโควิด-19 จะส่งผลต่อความตั้งใจในการเดินทางท่องเที่ยวของผู้โดยสาร และนำไปสู่การสร้างความมั่นใจในการเดินทางมากยิ่งขึ้นen_US
dc.description.abstractalternativeThis thesis aims to investigate the factors that affect the travel intention of airline passengers in Thailand after the COVID-19 epidemic situation, with a particular focus on health risk perception. The study examines three independent variables: Active Intervention, Passive Intervention, and Technological Intervention, using online questionnaires. The sample population comprises tourists who traveled during the COVID-19 pandemic, and the data is analyzed using simple linear regression analysis, with a significance level of 0.05. Based on the results of the study, it was found that health risk perception factors in Active Intervention and Passive Intervention measures did not have an influence on the intention of traveling for tourism of airline passengers. However, it was found that Technological Intervention measures did have an influence on Travel Intention. This means that airlines that adopt various technologies to facilitate the use of services for protection and reduce the risk of infection with COVID-19 may increase passenger confidence and travel intentions.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2022.209-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการรับรู้ความเสี่ยงen_US
dc.subjectการท่องเที่ยว -- แง่อนามัยen_US
dc.subjectRisk perceptionen_US
dc.subjectTravel -- Health aspectsen_US
dc.titleปัจจัยการรับรู้ความเสี่ยงที่ส่งผลต่อความตั้งใจเดินทางท่องเที่ยวของผู้โดยสารสายการบินภายหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19en_US
dc.title.alternativeRisk Perception Affecting Travel Intention of Airline Passengers After The COVID-19en_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2022.209-
Appears in Collections:Grad - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6480057220_Pichayapich_Nim_2565.pdfสารนิพนธ์4.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.