Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83585
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ศศรักษ์ เพชรเชิดชู | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2023-09-25T04:08:30Z | - |
dc.date.available | 2023-09-25T04:08:30Z | - |
dc.date.issued | 2565-11 | - |
dc.identifier.citation | วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 39,3 (พ.ย.-ธ.ค. 2565) หน้า 1-20 | en_US |
dc.identifier.issn | 2697-5688 (Online) | - |
dc.identifier.uri | https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83585 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์สองประการ 1) เพื่อศึกษาอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ [มนุษย์คือสัตว์] ในนวนิยายจีนเรื่อง หงเกาเหลียง และ 2) เพื่อศึกษากลวิธีการแปลเป็นภาษาไทยในฉบับแปลไทยเรื่อง ตำนานรักทุ่งสีเพลิง จากการศึกษาอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ [มนุษย์คือสัตว์] จำนวน 184 ตัวอย่าง พบอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ ดังนี้ [มนุษย์คือสัตว์สี่เท้า] [มนุษย์คือสัตว์น้ำและสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ] [มนุษย์คือสัตว์ปีก] และ [มนุษย์คือสัตว์เลื้อยคลานและแมลง] โดยมีการเชื่อมโยงมโนทัศน์ของสัตว์กับมนุษย์สี่ประการใหญ่ด้วยกัน ได้แก่ รูปร่างลักษณะและอากัปกิริยา ความสามารถ พฤติกรรมและนิสัยที่ดี และพฤติกรรมและนิสัยที่ไม่ดี จากการศึกษากลวิธีการแปลอุปลักษณ์ดังกล่าวนี้ในฉบับแปลไทยพบทั้งสิ้น 7 กลวิธี เรียงตามความถี่ที่พบจากมากไปน้อย ได้แก่ การแปลเอาความ การแปลอุปลักษณ์ตรงความ การละไม่แปล การแปลอุปลักษณ์ตรงความแต่ลดข้อความบางส่วน การแทนที่ทางวัฒนธรรม การแปลอุปลักษณ์ตรงความร่วมกับการอธิบายหรือเสริมความ และการแปลอุปลักษณ์เดิมบางส่วน | en_US |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were 1) to study the conceptual metaphors [HUMAN IS ANIMAL] found in the Chinese novel Hong Gaoliang and 2) to study the translation techniques into the Thai language in its Thai translation Tamnan Rak Tung Si Ploeng. From a study conducted on a total of 184 [HUMAN IS ANIMAL] metaphor samples, the following conceptual metaphors were found: [HUMAN IS QUADRUPED], [HUMAN IS AQUATIC ANIMAL AND AMPHIBIAN], [HUMAN IS POULTRY], and [HUMAN IS REPTILE AND INSECT]. The common characteristics of the mappings of animals and humans can be divided into four groups: appearance and posture, ability, positive behaviors and habits, and negative behaviors and habits. The translation techniques found in the Thai translation can be divided into seven types sorted by frequency from highest to lowest: free translation, reproducing the same image in the TL, deletion, reproducing the same image in the TL with text reduction, cultural substitution, reproducing the same image in the TL with sense or reinforcement, and partially literal translation. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น | en_US |
dc.relation.uri | https://so01.tci-thaijo.org/index.php/HUSO/article/view/258631 | - |
dc.rights | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น | en_US |
dc.title | การศึกษาอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ [มนุษย์คือสัตว์] ในนวนิยายจีนเรื่อง หงเกาเหลียง กับฉบับแปลไทยเรื่อง ตำนานรักทุ่งสีเพลิง | en_US |
dc.title.alternative | A Study of Conceptual Metaphors [HUMAN IS ANIMAL] in the Chinese Novel Hong Gaoliang and its Thai Translation Tamnan Rak Tung Si Ploeng | en_US |
dc.type | Article | en_US |
Appears in Collections: | Thai Journal Article |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
html_submission_86536.html | บทความวารสารฉบับเต็ม (Fulltext) | 2.78 kB | HTML | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.