Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83589
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพรนภัส วรรัตนานุรักษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2023-09-25T07:05:15Z-
dc.date.available2023-09-25T07:05:15Z-
dc.date.issued2565-05-
dc.identifier.citationวารสารรัฐศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 43,2 (พ.ค.-ส.ค. 2565) หน้า 137-176en_US
dc.identifier.issn0125-135X-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83589-
dc.description.abstractการเกิดขึ้นของโรคระบาดส่งผลสำคัญต่อระบบสาธารณสุขของประเทศแคนาดาในฐานะที่เป็นสถาบันหนึ่งที่คงอยู่มาอย่างยาวนาน อีกทั้งยังเป็นปัจจัยสำคัญที่เข้ามาสั่นคลอนความมีเสถียรภาพของระบบสาธาณสุขซึ่งหยั่งรากลึกเชิงโครงสร้างมาจนถึงปัจจุบัน ส่งผลให้สถาบันดังกล่าวต้องเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงเพื่อรับมือกับโรคระบาดที่เกิดขึ้น โดยการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นภายในระบบสาธารณสุขของแคนาดาเป็นการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไป ซึ่งเน้นไปที่การเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายเพื่อเตรียมพร้อมตอบสนองต่อภาวะฉุกเฉิน โดยเรียกการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวว่า “การเปลี่ยนแปลงแบบเบี่ยงเบน (Institutional Drift)” การเปลี่ยนแปลงเช่นนี้สะท้อนให้เห็นว่าระบบสาธารณสุขของประเทศแคนาดาไม่มีความพร้อมในการรับมือกับโรคระบาดมาตั้งแต่ต้น และทำได้เพียงรับมือสถานการณ์แบบเฉพาะหน้าเท่านั้น บทความนี้ทำการศึกษาระบบสาธารณสุขของประเทศแคนาดาผ่านกรอบทฤษฎีเส้นทางการพัฒนาของสถาบัน (Path dependence) และการเปลี่ยนแปลงเชิงสถาบัน (Institutional change) โดยมีการเปรียบเทียบการรับมือกับโรคระบาด 2 โรค ในช่วงเวลาที่ต่างกันระหว่างโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิดเอ (H1N1) และโรค ติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)en_US
dc.description.abstractalternativeThe emergence of the pandemic has had significant effects on the Canadian Public Health System as an established institution that has continued to exist. The pandemic has been an important factor that has undermined the stability of the Canadian Public Health System, which has established itself firmly in the social structure until the present day. Consequently, the institution has undergone changes to deal with the pandemic. Changes occurring within the Canadian Public Health System have been a gradual process with a focus on policy changes in response to the emergency on hand; such changes are called ‘Institutional Drifts’. These changes reflect the system’s lack of preparation in the event of a pandemic and that its attempts have been only at temporary solutions. The purpose of this paper is to examine The Canadian Public Health System via the theoretical framework of two concepts: path dependence, and institutional change. This will be done by comparing the management of two different pandemics at two different time periods: the H1N1 pandemic and the coronavirus (Covid-19) pandemic.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์en_US
dc.relation.urihttps://so06.tci-thaijo.org/index.php/PolscituJR/article/view/252116-
dc.rightsคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์en_US
dc.titleเปรียบเทียบระบบสาธารณสุขของแคนาดาในการรับมือโรคระบาดระหว่างไข้หวัดใหญ่ H1N1 และ COVID-19en_US
dc.title.alternativeHow Well Canadian Healthcare Deal with H1N1 Outbreak in Comparison to COVID-19 Pandemicen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Thai Journal Article

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
html_submission_85056.html.htmlบทความวารสารฉบับเต็ม (Fulltext)2.86 kBHTMLView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.