Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83590
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพันธมน สุภารี-
dc.contributor.authorจิราพร เกศพิชญวัฒนา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2023-09-25T07:46:22Z-
dc.date.available2023-09-25T07:46:22Z-
dc.date.issued2565-05-
dc.identifier.citationวารสารวิจัยและนวัตกรรมทางการพยาบาล 28,2 (พ.ค.-ส.ค. 2565) หน้า 214-227en_US
dc.identifier.issn2822-1389 (Online)-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83590-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์ชีวิตของหญิงสูงวัยที่ดูแลสามีที่เจ็บป่วยในระยะพึ่งพิง โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวคิดปรากฏการณ์วิทยาของมาร์ทีนไฮเด็กเกอร์ ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ หญิงวัยสูงอายุที่เป็นผู้ดูแลหลักที่ให้การดูแลผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงและเกี่ยวข้องเป็นภรรยา จำนวน 14 ราย คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก (in-depth interview) การสังเกต และทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษา พบว่า ผู้ให้ข้อมูลให้ความหมายของการเป็นผู้ดูแลสามีที่เจ็บป่วยในภาวะพึ่งพิงแบ่งออกเป็น 2 ประเด็น ได้แก่ 1)ดูแลด้วยความผูกพัน และ 2) ลำบากด้วยกันมาต้องช่วยเหลือกันไปและพบว่า ประสบการณ์ชีวิตของหญิงสูงวัยที่ดูแลสามีที่เจ็บป่วยในภาวะพึ่งพิง แบ่งออกเป็น 3 ประเด็นหลักได้แก่ 1)ชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป 2) การยอมรับและเรียนรู้เกี่ยวกับการเป็นผู้ดูแลซึ่งต้องปรับตัวให้เข้าใจกับการเปลียนแปลงที่เกิดขึ้น และ 3) การเป็นผู้ดูแลในบริบทของภรรยาผลการศึกษาดังกล่าวนี้จะช่วยให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับประสบการณ์ชีวิตของหญิงสูงวัยที่ดูแลสามีที่เจ็บป่วยในภาวะพึ่งพิง เพื่อเป็นแนวทางในการช่วยเหลือให้การดูแลภรรยาที่ทำหน้าที่เป็นผู้ดูแล เพื่อให้เกิดการดูแลที่มีประสิทธิภาพen_US
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to study the lived experience of older women caring for a frail, dependent elderly spouse using the qualitative research method and phenomenology of Martin Heidegger. The key informants were 14 older women who were the main caregivers of a frail, dependent elderly spouse, selected through the purposive sampling method. The data were collected through an in-depth interview, observation, notes, and tape recordings. The data were then transcribed using verbatim transcription and analyzed using content analysis. The results indicated that the meanings of being a caregiver to a frail, dependent elderly spouse provided by the informants could be divided into two points: 1) taking care with deep connection and 2) taking care because they had been through difficulties together. It was also found that the experience of older women caring for a frail, dependent elderly spouse could be categorized into three themes, which were 1) life changed, 2) acceptance and learning of being caregivers, and 3) being a caregiver in the context of being a wife. The findings of this study could lead to an understanding of lived experiences of older women caring for a frail, dependent elderly spouse and serve as guidelines to help wives who take care of a frail, dependent elderly spouse for efficient care.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี และสมาคมศิษย์เก่าพยาบาลรามาธิบดีen_US
dc.relation.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/RNJ/article/view/249070-
dc.rightsคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี และสมาคมศิษย์เก่าพยาบาลรามาธิบดีen_US
dc.titleประสบการณ์ชีวิตของหญิงสูงวัยที่ดูแลสามีที่เจ็บป่วยในระยะพึ่งพิงen_US
dc.title.alternativeLived Experience of Older Women Caring for Frail Dependent Elderly Spousesen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Thai Journal Article

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
html_submission_86541.htmlบทความวารสารฉบับเต็ม (Fulltext)2.75 kBHTMLView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.