Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83591
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอนัญญา โสภณนาค-
dc.contributor.authorจิราพร เกศพิชญวัฒนา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2023-09-25T08:04:32Z-
dc.date.available2023-09-25T08:04:32Z-
dc.date.issued2565-09-
dc.identifier.citationวารสารวิจัยและนวัตกรรมทางการพยาบาล 28,3 (ก.ย.-ธ.ค. 2565) หน้า 370-384en_US
dc.identifier.issn2822-1389 (Online)-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83591-
dc.description.abstractการวิิจััยครั้งนี้มีวัตถุุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์ชีวิตของผู้สููงอายุุที่บกพร่องทางการได้ยินโดยใช้วิธีการศึกษาเชิงคุุณภาพตามแนวคิดปรากฏการณ์วิทยา ผู้ให้ข้อมููลเป็นผู้สููงอายุุที่มีภาวะบกพร่องทางการได้ยิิน จำนวน 17 ราย คัดเลือกผู้ให้ข้อมููลแบบเฉพาะเจาะจงเก็บรวบรวมข้อมููลโดยวิธีการสัมภาษณ์แบบเชิงลึก การสังเกต และการบันทึกภาคสนาม ผลการศึกษาพบ 4 ประเด็นหลัก ได้แก่ 1) การรับรู้อาการได้ยินบกพร่อง 2) การเปลี่ยนแปลงของชีวิตเมื่อเป็นผู้บกพร่องทางการได้ยิิน 3) การแสดงออกของคนรอบข้างต่อผู้สููงอายุุที่มีการได้ยินบกพร่อง และ 4) การปรับตัวปรับใจกับการเป็นผู้สููงอายุุที่บกพร่องทางการได้ยิน ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำไปเป็นข้อมููลพื้นฐานให้บุ คลากรทีีมสุขภาพมีความเข้าใจถึงประสบการณ์ชีวิตของการเป็นผู้บกพร่องทางการได้ยินของผู้สููงอายุุ อีกทั้งสามารถนำไปพัฒนาแนวทางการพยาบาลให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นen_US
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to study the lived experiences of hearing-impaired older people using a qualitative study method based on phenomenology. The key informants were seventeen older people with hearing impairment, selected through the purposive sampling method. Data were collected through in-depth interviews, observation, and field notes. The results revealed four main categories: 1) perception of hearing impairment, 2) the older people’s lives changed when they became hearing-impaired people, 3) expression of other people to hearing-impaired older people, and 4) the adaptation to be the older people with hearing impairment. The results of this research can be used to provide basic information for health team personnel to understand the life experiences of hearing-impaired older people. They can be used to develop nursing guidelines to be more effective as well.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี และสมาคมศิษย์เก่าพยาบาลรามาธิบดีen_US
dc.relation.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/RNJ/article/view/253660-
dc.rightsคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี และสมาคมศิษย์เก่าพยาบาลรามาธิบดีen_US
dc.titleประสบการณ์ชีวิตของการเป็นผู้บกพร่องทางการได้ยินของผู้สูงอายุen_US
dc.title.alternativeLived Experiences of Being Hearing Impaired Older Peopleen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Thai Journal Article

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
html_submission_86542.htmlบทความวารสารฉบับเต็ม (Fulltext)2.75 kBHTMLView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.