Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83597
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorชเนตตี ทินนาม-
dc.contributor.authorต่อตระกูล อุบลวัตร-
dc.contributor.authorพิเชษฐ พิมพ์เจริญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2023-09-25T09:34:31Z-
dc.date.available2023-09-25T09:34:31Z-
dc.date.issued2565-07-
dc.identifier.citationวารสารเกษมบัณฑิต 23,2 (ก.ค.-ธ.ค. 2565) หน้า 55-70en_US
dc.identifier.issn2672-9954 (Online)-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83597-
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาและทดลองใช้ระบบการเฝ้าระวังเนื้อหารายการโทรทัศน์สำหรับเด็กและเยาวชน วิธีวิจัย การวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างระบบการประเมินรายการโทรทัศน์สำหรับเด็กและเยาวชนแบบออนไลน์ กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย รายการโทรทัศน์สำหรับเด็กและเยาวชนจาก 5 ช่อง ได้แก่ ช่องยอดนิยม (ช่อง Work Point ช่อง 3HD และ ช่อง 7) ช่องสื่อสาธารณะ (ThaiPBS) และช่องที่มีเนื้อหาสำหรับเด็กและเยาวชน (ช่อง MCOT family) ผู้ทำหน้าที่เป็นผู้ประเมินรายการประกอบด้วย กลุ่มเด็ก กลุ่มเยาวชน กลุ่มพ่อแม่ผู้ปกครอง กลุ่มประชาชนทั่วไป กลุ่มผู้ผลิตสื่อ และ กลุ่มคนทำงานด้านเด็กและเยาวชน ผลการวิจัย เกณฑ์ที่อยู่ในระบบเพื่อการประเมินคุณภาพรายการ มี 3 ด้าน คือ 1) คุณภาพเนื้อหารายการที่ไม่ปลอดภัยไม่สร้างสรรค์ 2) คุณภาพเนื้อหารายการที่ปลอดภัยและสร้างสรรค์ และ 3) คุณภาพด้านรูปแบบรายการ โดยค่าความเชื่อมั่นของการเกณฑ์การประเมินเท่ากับ 0.812 นัยทางทฤษฎี/นโยบาย ระบบการเฝ้าระวังเนื้อหารายการโทรทัศน์ เป็นระบบการประเมินคุณภาพรายการโทรทัศน์สำหรับเด็กและเยาวชนแบบออนไลน์ โดยไม่มีข้อจำกัดด้านเวลาและสถานที่ ทั้งยังสามารถสรุปและประมวลผลการประเมินพร้อมแสดงผลแบบอัตโนมัติได้ทันทีภายหลังทำการประเมินen_US
dc.description.abstractalternativePURPOSES: To develop and implement an online monitoring system for children's and youth TV programs. METHODS:Research and development were used as approachesfor developing the online monitoring system. The sample groups were children’s programs from five TV channels, namely, popular channels (Work Point Channel, Channel 3HD, and Channel 7), a public media channel (ThaiPBS Channel), and a family channel (MCOT Family Channel). Program evaluators were groups of children, youth, parents, the general public, media producers, and working groups on children and youth.RESULTS:The criteria in the online monitoring system for children’s and youth television program content evaluation were: 1) Unsafe and uncreative program content, 2) Safe and creative program content, and 3) Types of program quality. The reliability coefficient of criteria was 0.812.THEORY/POLICY IMPLICATIONS:The children’s and youth television program monitoring system is able to evaluate children’s and youth television programs without limitation on time or place. The summary and results will be displayed automatically after evaluation.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherวารสารเกษมบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตen_US
dc.relation.urihttps://so04.tci-thaijo.org/index.php/jkbu/article/view/250876-
dc.rightsวารสารเกษมบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตen_US
dc.titleการวิจัยและพัฒนาระบบการเฝ้าระวังเนื้อหารายการโทรทัศน์สำหรับเด็กและเยาวชนen_US
dc.title.alternativeResearch and development of childrenand youthtelevision programmonitoring systemen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Thai Journal Article

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
html_submission_86548.htmlบทความวารสารฉบับเต็ม (Fulltext)2.7 kBHTMLView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.