Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83612
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorมารุต เฟื่องอาวรณ์-
dc.contributor.authorชัชวาล ใจซื่อกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2023-09-27T08:44:00Z-
dc.date.available2023-09-27T08:44:00Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83612-
dc.description.abstractความหลากหลายทางชีวภาพในดินรวมทั้งไรในดินมีบทบาทสำคัญในระบบนิเวศโดยเฉพาะในกระบวนการย่อยสลาย การวิจัยครั้งนี้ (ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัยต่อเนื่องเรื่อง ศักยภาพของไรในดิน การใช้เป็นดัชนีชี้วัดและติดตามคุณภาพสิ่งแวดล้อม) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับความหลากหลายและอนุกรมวิธานของไรในดินในพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ สนองพระราชดำริโดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (พื้นที่โครงการ อพ.สธ.-กฟผ.) ภาคตะวันตก (เขื่อนภูมิพล เขื่อนศรีนครินทร์ และเขื่อนวชิราลงกรณ์) โดยได้สำรวจเก็บตัวอย่างไรในดินในพื้นที่ รวมทั้งรวบรวมตัวอย่างในพิพิธภัณฑ์ เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานเชิงอนุกรมวิธาน ระหว่างเดือนตุลาคม 2559-กันยายน 2560 พบไรในดินอย่างน้อย 76 ชนิดสัณฐาน (Morphospecies) ใน 65 สกุล (genus) 41 วงศ์ (family) และ 4 อันดับ (order) แบ่งเป็นไรกลุ่ม (suborder) Oribatida มากที่สุด (คิดเป็น 77% ของชนิดสัณฐานทั้งหมด) รองลงมาได้แก่ไรกลุ่ม Prostigmata (15%) และที่เหลือรวมกันอีกเพียบ 5% และพบไรที่อาจจะเป็นชนิดใหม่และชนิดบันทึกใหม่ได้แก่ไรตัวห้ำ Tarsotomus sp. (วงศ์ Erythracaridae) และ Tanytydeus sp. (วงศ์ Paratydeidae) ข้อมูลทางอนุกรมวิธานของไรแต่ละชนิดสัณฐานคือคำบรรยายลักษณะ ภาพวาดทางวิทยาศาสตร์และแนวทางการวินิจฉัย เป็นต้น จะได้เผยแพร่ในรูปแบบที่เหมาะสมต่อไปen_US
dc.description.abstractalternativeSoil biodiversity, including the diversity of soil mites, play an important role in the ecosystem, especially in the decomposition processes. This research (as part of the continuous research project titled ‘Potential uses of soil mites (Acari) in bioindication and monitoring of environmental quality’) aims to investigate the basic information ofdiversity and taxonomy of soil mites in the areas of the Plant Genetic Conservation Project under the royal initiative of H.R.H. Princess Maha Chakri Sirindhorn conducted by The Electricity Generating Authority of Thailand (RSPG-EGAT areas), in western Thailand (Bhumibol Dam, Srinakarin Dam, and Vajiralongkorn Dam). A survey and collecting of soil mite specimens were conducted, including gathering of museum specimens, to taxonomically study of soil mites in the areas between October 2016 – September 2017. At least 76 morphospecies in 65 genera, 41 families, and 4 orders of soil mites were found. Of these, the most species rich group is (suborder) Oribatida (accounting 77% of all species) followed by Prostigmata (15%) and other mite groups pooled (5%). Several species may by proven to be new species and several taxa are records for Thailand, such as the predatory mite Tarsotomus sp. (family Erythracaridae) and Tanytydeus sp. (family Paratydeidae). Taxonomic information of each mite species including descriptions, illustrations, diagnoses, and keys will be presented in separate works.en_US
dc.description.sponsorshipทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดินปี 2560en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectไรen_US
dc.subjectคุณภาพสิ่งแวดล้อมen_US
dc.subjectความหลากหลายทางชีวภาพen_US
dc.subjectMitesen_US
dc.subjectEnvironmental qualityen_US
dc.subjectBiological diversityen_US
dc.titleศักยภาพของไรในดินในการใช้เป็นดัชนีชี้วัดและติดตามคุณภาพสิ่งแวดล้อม : รายงานผลการดำเนินงานen_US
dc.title.alternativePotential uses of soil mites (Acari) in bioindication and monitoring of environmental qualityen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
Appears in Collections:Sci - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sci_Marut Fuang_Res_2560.pdf17.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.