Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83627
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุพิชชา จันทรโยธา-
dc.contributor.authorพงษ์แพทย์ แพ่งวาณิชย์-
dc.contributor.authorชุติมา กรานรอด-
dc.contributor.authorรวิวรรณ กฤษณานุวัตร์-
dc.contributor.authorพงษ์ยุทธ ศรีพลอย-
dc.contributor.authorฐมาพร พลอยกระโทก-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2023-09-28T08:35:11Z-
dc.date.available2023-09-28T08:35:11Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83627-
dc.description.abstractการตรวจวัดรังสีแกมมาตามธรรมชาติในสิ่งแวดล้อมตามเส้นทางถนนสายหลักในภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ด้วยวิธีการสำรวจทางรถยนต์ ที่ติดตั้งระบบวิเคราะห์รังสีแกมมาชนิดหัววัดเรืองแสงวาบ (Scintillation Detector, NaI(TI)) ขนาด 3 นิ้ว สำหรับเทคนิคการตรวจวัดนี้สามารถทำการสำรวจในพื้นที่ขนาดใหญ่ได้อย่างรวดเร็ว และได้ค่าอัตราปริมาณรังสีสมมูลโดยรอบ และสเปกตรัมพลังงานรังสีแกมมา นอกจากนี้ยังได้ทำการตรวจวัดและวิเคราะห์ปริมาณกัมมันตภาพจำเพาะของนิวไคลด์ ²²⁶Ra, ²²⁸Ra และ ⁴⁰K ในตัวอย่างดินจาก 3 ภูมิภาคของประเทศไทย โดยใช้หัววัดรังสีแบบเจอร์มาเนียมบริสุทธิ์สูง) และระบบการวิเคราะห์แบบแกมมาสเปกโตรเมตรี ณ ห้องปฏิบัติการอีกด้วย จากการตรวจวัดอัตราปริมาณรังสีพื้นหลังใน 3 ภูมิภาคของประเทศไทย นั้นทำให้ได้ข้อมูลรวม 25,346 ข้อมูล และนำข้อมูลดังกล่าวมาแปลงในแผนที่โดยใช้ซอฟต์แวร์ ArcGIS จากการสำรวจพบว่าปริมาณรังสีดูดกลืนเฉลี่ยในอากาศบริเวณภาคกลางมีค่าอยู่ในช่วง 14-106 nGy/h, ภาคเหนือมีค่าอยู่ในช่วง 12-122 nGy/h และภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีค่าอยู่ในช่วง 10-62 nGy/h และพบว่าภาคเหนือของประเทศไทยมีปริมาณรังสีดูดกลืนในอากาศสูงสุดen_US
dc.description.abstractalternativeNatural background gamma radiation was measured along main roads in the environs of Central, Northern, and Northeastern Thailand using a car-borne survey system with a 3" × 3" NaI(Tl) scintillation gamma radiation detector. The system can quickly survey a large area and obtain ambient dose equivalent rates and gamma-ray energy spectra. In addition, activity concentrations of ²²⁶Ra, ²²⁸Ra and ⁴⁰K in soil samples from those 3 regions of Thailand were determined using laboratory gamma spectrometry system with an HPGe detector. A total of 25,346 data of the background gamma dose rate were collected for those 3 regions of Thailand. The background gamma dose rate of those 3 regions of Thailand was mapped using ArcGIS software. The average absorbed dose rate in air in Central, Northern, and Northeastern Thailand were 14-106 nGy/h, 12-122 nGy/h and 10-62 nGy/h, respectively. The highest absorbed dose rate in air was detected in Northern region of Thailand.en_US
dc.description.sponsorshipได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ปี 2561 สัญญาเลขที่ GB-A_61_028_21_02en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectรังสีแกมมา -- การวัดen_US
dc.subjectรังสีแกมมา -- การตรวจหาen_US
dc.subjectGamma rays -- Measurementen_US
dc.subjectGamma rays -- Detectionen_US
dc.titleการจัดทำข้อมูลพื้นฐานของแหล่งที่มาของรังสีตามธรรมชาติและจากมนุษย์ทำขึ้นเพื่อสนับสนุนการเตรียมพร้อมฉุกเฉินทางด้านรังสีของประเทศไทย (เฟสที่ 2) : รายงานฉบับสมบูรณ์en_US
dc.title.alternativeConstruction of Baseline Data of Natural and Man-made Radiation Sources for Supporting Thailand’s Radiation Emergency Preparedness (Phase 2)en_US
dc.typeTechnical Reporten_US
Appears in Collections:Eng - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supitcha_Ch_Res_2562.pdf129.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.