Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83939
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐสุดา เต้พันธ์-
dc.contributor.advisorกุลยา พิสิษฐ์สังฆการ-
dc.contributor.authorวัฒนะ พรหมเพชร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2024-02-05T02:49:28Z-
dc.date.available2024-02-05T02:49:28Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83939-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2566-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและตรวจสอบโมเดลสมการโครงสร้างของความงอกงามภายหลังเหตุการณ์สะเทือนใจของนักศึกษาที่เศร้าโศกจากสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รักจากสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ รวมทั้งการศึกษาอิทธิพลของเหตุปัจจัยที่มีต่อความงอกงามภายหลังเหตุการณ์สะเทือนใจ กลุ่มตัวอย่างจำนวน 281 คนเป็นนักศึกษาที่กำลังศึกษาอยู่ระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2563 และมีประสบการณ์การสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รักจากสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ เครื่องมือวิจัยเป็นแบบสอบถามเพื่อการวิจัยแบบออนไลน์ การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และการวิเคราะห์โมเดลสมการเชิงโครงสร้างโดย Program R และ LISREL เวอร์ชั่น 8.72 ผลวิจัยพบว่า โมเดลสมการโครงสร้างของความงอกงามภายหลังเหตุการณ์สะเทือนใจที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (Chi-square = 66.07, df = 59, p = .25, GFI = .96, AGFI = .95, RMR = .69, RMSEA = .02) สามารถอธิบายความแปรปรวนของความงอกงามภายหลังเหตุการณ์สะเทือนใจได้ร้อยละ 27 โดยที่ปัจจัยสติและการรับรู้การสนับสนุนทางสังคมมีอิทธิพลทางตรงด้านบวกต่อความงอกงามภายหลังเหตุการณ์สะเทือนใจอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีขนาดอิทธิพลเท่ากับ .32 และ .31 ตามลำดับ การประยุกต์ใช้โมเดลเพื่อการพัฒนาความงอกงามภายหลังเหตุการณ์สะเทือนใจของนักศึกษาที่เศร้าโศกจากการสูญเสีย ควรส่งเสริมการฝึกสติและสร้างการรับรู้การสนับสนุนทางสังคมเป็นสำคัญ ส่วนปัจจัยปัญญาควรมีการศึกษาเพิ่มเติมต่อไป-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to develop and validate a structural equation model of posttraumatic growth (PTG) of bereaved students from civil unrest in southernmost provinces of Thailand with empirical data and to examine the effect of mindfulness, wisdom, and perceived social support with PTG. Participants were 281 undegraduates, who were studying in the Academic Year 2020, who lost their loved one from the unrest situations. The research tool was an online questionnaire. Data was analyzed by descriptive statistics, confirmatory factor analysis, and analyses of structural equation model by using program R and LISREL program version 8.72. The result of validating the structural equation model of PTG suggested that the model fit with the empirical data (Chi-square= 66.07, p= 0.246, df= 59, GFI= .96, AGFI= .95, RMR= .69, RMSEA= .021). Variables in the model accounted for 27% of the total variance of PTG. Mindfulness and perceived social support had significant direct effects on PTG of bereaved students at .01 levels, with effect sizes .32 and .31 respectively. Application of this model to develop PTG should entail mindfulness training and enhancement of perceived social support. Wisdom should be studied further.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationPsychology-
dc.subject.classificationProfessional, scientific and technical activities-
dc.titleการพัฒนาโมเดลสมการโครงสร้างของความงอกงามภายหลังเหตุการณ์สะเทือนใจของนักศึกษาที่เศร้าโศกจากการสูญสียบุคคลอันเป็นที่รักจากสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ของประเทศไทย-
dc.title.alternativeA development of structural equation model of posttraumatic growth of bereaved students from civil unrests in Southernmost provinces of Thailand-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาเอก-
dc.degree.disciplineจิตวิทยา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6077904838.pdf3.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.