Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/84308
Title: A communication system to support evacuation route in the building construction project
Other Titles: ระบบสื่อสารเพื่อสนับสนุนเส้นทางอพยพในโครงการก่อสร้างอาคาร
Authors: Somjintana Kanangkaew
Advisors: Noppadon jokkaw
Tanit Tongthong
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Issue Date: 2023
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: In the past decade, emergencies have occurred in construction projects, directly influencing injuries and casualties due to the dynamic nature of construction. Currently, the practice of developing evacuation routes for most construction projects is presented in a static and non-interactive manner. This involves a two-dimensional evacuation plan that cannot provide a real-time evacuation route. Furthermore, some emergency signs are unclear and do not provide the correct evacuation routedue to construction activities not aligning with the construction progress. Therefore, conventional evacuation plans have limitations and require improvement. Building Information Modeling (BIM) and Augmented Reality (AR) can present the evacuation route position of exit in a three-dimensional and can update the construction work following the construction progress. The objective of this research is to develop a communication system to support the evacuation route in a dynamic nature to assist construction workers and staff in accessing evacuation information such as appropriate evacuation route exit voice and arrow direction distance from the current location to the exit and obstacle avoidance in the construction project. In addition, to validate the proposed system approach, the case study uses Building Information Modeling (BIM) and Augmented Reality (AR), and a real construction project is executed. Moreover, three engineers, four trainees, and five construction workers participated in evacuating the proposed system. The result indicated that the proposed system could provide the correct evacuation route following the dynamic nature of the construction project.
Other Abstract: ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา พบว่า การเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินในโครงการก่อสร้าง ส่งผลกระทบทำให้คนงานก่อสร้างและผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับบาดเจ็บและเสียชีวิตจำนวนมาก เนื่องจากลักษณะของโครงการก่อสร้างอยู่ในรูปแบบพลวัต ในปัจจุบันรูปแบบการจัดการเพื่อสนับสนุนเส้นทางอพยพในโครงการก่อสร้าง จัดอยู่ในรูปแบบสถิตและไม่มีปฏิสัมพันธ์ เช่น แผนอพยพในรูปแบบ 2 มิติ ไม่สามารถแสดงเส้นทางอพยพที่เหมาะสมได้ทันที รวมถึงการติดตั้งป้ายทางออกฉุกเฉินที่ไม่ชัดเจนและแสดงเส้นทางอพยพที่ไม่ถูกต้อง เนื่องจากลักษณะของโครงการก่อสร้างที่เปลี่ยนแปลงตามแผนงานก่อสร้าง และพบว่าแผนการอพยพปัจจุบันมีข้อจำกัดและจำเป็นต้องมีการปรับปรุง แบบจำลองสารสนเทศอาคารและเทคโนโลยีความจริงเสมือนเสริม สามารถแสดงเส้นทางอพยพ ตำแหน่งทางออกในรูปแบบ 3 มิติและสามารถอัพเดทความคืบหน้าของโครงการก่อสร้างได้ ดังนั้นงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอระบบสื่อสารที่สนับสนุนเส้นทางการอพยพ โดยคำนึงถึงลักษณะของโครงการก่อสร้างแบบพลวัต จากการศึกษาพบว่า ระบบสื่อสารเพื่อสนับสนุนเส้นทางการอพยพ ทำให้คนงานก่อสร้างและผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถรับรู้ข้อมูลในการอพยพ เช่น เส้นทางอพยพที่เหมาะสม ตำแหน่งทางออก เสียงและสัญลักษณ์บอกทิศทาง ระยะทางจากตำแหน่งปัจจุบันถึงทางออก รวมถึงหลีกเลี่ยงสิ่งกีดขวางในโครงการก่อสร้าง เป็นต้น งานวิจัยนี้ได้ทำการตรวจสอบความถูกต้องของระบบสื่อสารเพื่อสนับสนุนเส้นทางอพยพ จากการร่วมประเมินและทดสอบจริงของวิศวกรจำนวน 3 คน นักศึกษาฝึกงานจำนวน 4 คนและคนงานก่อสร้างจำนวน 5 คน ผ่านเทคโนโลยีแบบจำลองสารสนเทศอาคาร เทคโนโลยีความจริงเสมือนเสริมและโครงการก่อสร้างจริง จากการทดสอบพบว่า ระบบสื่อสารเพื่อสนับสนุนเส้นทางอพยพสามารถนำเสนอข้อมูลอย่างถูกต้องตามลักษณะของโครงการก่อสร้างได้
Description: Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2023
Degree Name: Doctor of Philosophy
Degree Level: Doctoral Degree
Degree Discipline: Civil Engineering
URI: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/84308
Type: Thesis
Appears in Collections:FACULTY OF ENGINEERING - THESIS

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6171424921.pdf8.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.