Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/84476
Title: A comparative study of sustainable aviation fuel production from hydroprocessing process between hydrogen recovery unit from steam reforming and hydrogen generation unit from biomass gasification
Other Titles: การเปรียบเทียบกระบวนการผลิตเชื้อเพลิงอากาศยานชีวภาพโดยกระบวนการไฮโดรโปรเซสซิงระหว่างการใช้หน่วยกู้คืนไฮโดรเจนโดยวิธีรีฟอร์มมิงด้วยไอนำ้และหน่วยผลิตก๊าซไฮโดรเจนจากแก๊สซิฟิเคชันชีวมวล
Authors: Praeva Pongsripipat
Advisors: Suttichai Assabumrungrat
Watcharapong Khodee
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Issue Date: 2023
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Sustainable aviation fuel (SAF) can be generated using various processes. Among the well-established approaches, one that stands out is the hydrotreating of esters and fatty acids (HEFA). However, the HEFA process requires a source of hydrogen for the hydroprocessing reactions. Hydrogen is often considered as an expensive component, and its cost can have a significant impact on the overall economic viability of renewable aviation fuel production. In this work, the SAF process is developed using Aspen Plus simulation. There are 2 scenarios to be considered. Scenario 1 involves a plant in which the hydrotreating of palm oil is performed to recover hydrogen from the hydrocarbon gas and other byproducts directed to a steam reformer. In scenario 2, palm oil hydrotreatment is combined with hydrogen production through biomass gasification. The results show that scenario 2 is superior to the scenario 1 in both terms of performance and economics. This is attributed to its substantial SAF yield, resulting in higher revenue from product sales, as well as a shorter payback period.
Other Abstract: น้ำมันอากาศยานเชื้อเพลิงชีวภาพสามารถผลิตได้จากหลายกระบวนการผลิต กระบวนการหนึ่งที่ได้รับความนิยม คือ กระบวนการ Hydrotreating of esters and fatty acids (HEFA) อย่างไรก็ตาม กระบวนการผลิตวิธีนี้จำเป็นต้องใช้ปริมาณไฮโดรเจนสูงสำหรับทำปฏิกิริยาไฮโดรโปรเซสซิง เนื่องจากไฮโดรเจนถือว่ามีราคาที่สูง ทำให้มีผลกระทบในด้านเศรษฐศาสตร์การลงทุนสำหรับการผลิตน้ำมันอากาศยานเชื้อเพลิงชีวภาพ งานวิจัยนี้จึงมุ่งพัฒนากระบวนการผลิตน้ำมันอากาศยานเชื้อเพลิงชีวภาพโดยใช้โปรแกรม Aspen Plus ในการออกแบบกระบวนการผลิต โดยพิจารณา 2 กระบวนการผลิตเพื่อนำมาเปรียบเทียบ กระบวนการผลิตแบบที่ 1 เป็นกระบวนการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยานชีวภาพโดยมีระบบกู้คืนไฮโดรเจนจากการใช้วิธีเปลี่ยนแปลงโครงสร้างโมเลกุลด้วยไอน้ำของผลิตภัณฑ์พลอยได้ของกระบวนการ ส่วนกระบวนการผลิตแบบที่ 2 เป็นกระบวนการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยานชีวภาพโดยมีกระบวนการผลิตไฮโดรเจนจากการแปรรูปชีวมวล ผลลัพธ์ที่ได้พบว่า กระบวนการผลิตแบบที่ 2 มีประสิทธิภาพสูงกว่ากระบวนการผลิตแบบที่ 1 ทั้งในด้านประสิทธิภาพของกระบวนการผลิตและด้านเศรษฐศาสตร์การลงทุน เนื่องจากได้ผลผลิตร้อยละสูงกว่า จึงมียอดรายได้ที่สูงกว่า ส่งผลให้ระยะคืนทุนสั้นกว่า จึงเหมาะกับการลงทุนมากกว่า
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2023
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Chemical Engineering
URI: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/84476
Type: Thesis
Appears in Collections:FACULTY OF ENGINEERING - THESIS

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6570165021.pdf3.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.