Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9282
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวัฒนา อุทัยรัตน์-
dc.contributor.authorสุจิรา มุสิกะเจริญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-07-23T03:53:37Z-
dc.date.available2009-07-23T03:53:37Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743347062-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9282-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างกลุ่มที่เรียนโดยใช้ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ทางเรขาคณิตและไม่ใช้ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ทางเรขาคณิต 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เรื่องเส้นขนานและความคล้ายของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างกลุ่มที่เรียนโดยใช้ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ทางเรขาคณิตและไม่ใช้ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ทางเรขาคณิต ตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2542 ของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐม จำนวน 2 ห้องเรียน โดยสุ่มนักเรียนห้องหนึ่งจำนวน 38 คน เป็นกลุ่มทดลองที่เรียนโดยใช้ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ทางเรขาคณิต คือ โปรแกรม The Geometer's Sketchpad ซึ่งจัดกิจกรรมเป็น 3 ขั้นตอน คือ สร้างรูป ทดลอง (ลองผิดลองถูก) และหาข้อสรุป นักเรียนอีกห้องหนึ่ง จำนวน 37 คน เป็นกลุ่มควบคุมที่เรียนโดยไม่ใช้ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ทางเรขาคณิต เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวัดความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เรื่องเส้นขนาดและความคล้าย วิเคราะห์ข้อมูล โดยการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนที่เรียนโดยใช้ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ทางเรขาคณิตมีความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ไม่แตกต่างจากนักเรียนที่เรียนโดยไม่ใช้ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ทางเรขาคณิต อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2. นักเรียนที่เรียนโดยใช้ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ทางเรขาคณิตมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เรื่องเส้นขนานและความคล้าย ไม่แตกต่างจากนักเรียนที่เรียนโดยไม่ใช้ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ทางเรขาคณิต อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05en
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were: 1. to compare the spatial ability of mathayom suksa two students between groups learned with geometry computer software and without geometry computer software. 2. to compare the mathematics learning achievement of mathayom suksa two students between groups learned with geometry computer software and without geometry computer software. The samples were mathayom suksa two students in 1999 academic year at the demonstration school of Silpakorn University in Nakornprathom province. They were divided into two classes: one class with 38 students was the experimental group learned with geometry computer software: The Geometer's Sketchpad. The three steps of instructional activities: drawing picture, experimenting by trial and error and making conclusion. The other class with 37 students was the controlled group learned without geometry computer software. The research instruments were spatial ability test and mathematics achievement test on parallel lines and similarity. The data were analyzed by means of t-test. The results of this research revealed that: 1. There was no significant difference in the spatial ability of students between groups learned with geometry computer software at the 0.05 level. 2. There was no significant difference in the mathematics learning achievement of students between groups learned with geometry computer software and without geometry computer software at the 0.05 levelen
dc.format.extent779187 bytes-
dc.format.extent815771 bytes-
dc.format.extent985840 bytes-
dc.format.extent819786 bytes-
dc.format.extent711769 bytes-
dc.format.extent739825 bytes-
dc.format.extent1322188 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1999.420-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน -- โปรแกรมคอมพิวเตอร์en
dc.subjectความสามารถด้านมิติสัมพันธ์en
dc.subjectเรขาคณิต -- การศึกษาและการสอน -- โปรแกรมคอมพิวเตอร์en
dc.titleการเปรียบเทียบความสามารถด้านมิติสัมพันธ์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เรื่องเส้นขนานและความคล้ายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างกลุ่มที่เรียนโดยใช้และไม่ใช้ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ทางเรขาคณิตen
dc.title.alternativeA comparison of spatial ability and mathematics learning achievement on parallel lines and similarity of mathayom suksa two students between groups learning with and without geometry computer softwareen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการศึกษาคณิตศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSuwattana.U@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1999.420-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sujira_Mu_front.pdf760.92 kBAdobe PDFView/Open
Sujira_Mu_ch1.pdf796.65 kBAdobe PDFView/Open
Sujira_Mu_ch2.pdf962.73 kBAdobe PDFView/Open
Sujira_Mu_ch3.pdf800.57 kBAdobe PDFView/Open
Sujira_Mu_ch4.pdf695.09 kBAdobe PDFView/Open
Sujira_Mu_ch5.pdf722.49 kBAdobe PDFView/Open
Sujira_Mu_back.pdf1.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.